วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของบรรพบุรุษ ส่งตรงสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน

วัฒนธรรมภาคตะวันออก กิจกรรมอันดีงามของคนรุ่นหลัง

วัฒนธรรมภาคตะวันออก

ในแต่ละสถานที่นั้นย่อมประเพณีเป็นของตัวเองที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน หรือเรียกว่าเป็นเอกลักษณ์ที่มีความสำคัญต่อสังคมเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นประเพณีได้การแต่งกาย ภาษา รวมไปถึง วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่คนไทยนั้น จะมีความเชื่อที่สืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย จนมาถึงรุ่นหลาน อาจจะมีปรับเปลี่ยนกันบ้างตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไปแต่ก็ไม่ได้หายไป เนื่องจากประเทศไทยมีความเชื่อตามศาสนาที่มีอิทธิพลสูงมากที่สุด ดังนั้นจึงจะเห็นว่าคนไทยมีให้ความสำคัญกับการบำรุงรักษาประเพณีตั้งแต่โบราณมา วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทั้ง 7 จังหวัด ซึ่งทุกท่านคงจะทราบกันดีว่าภาคตะวันออก ก็เป็นอีกหนึ่งภาค ที่ประกอบไปด้วยจังหวัดท่องเที่ยวมากมาย และ วัฒนธรรมภาคตะวันออก  ยังมีความเชื่อของคนในท้องที่ ที่มีการนับถือกันมาอย่างยาวนานเป็นระเบียบแผนที่ปฏิบัติในแต่ละท้องถิ่น

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทำความรู้จักเกี่ยวกับ ประเพณีเก่าแก่

ในจังหวัดทางภาคตะวันออกนั้นมี ทั้งหมด 7 จังหวัดด้วยกัน ซึ่งตามประเพณีและความเชื่อเหล่านั้นส่วนใหญ่ จะสะท้อนให้นักท่องเที่ยวเห็นถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามต่างๆ มากมาย โดยประเพณีส่วนใหญ่จะจัดทำขึ้นช่วงเทศกาลสงกรานต์ วันไหล 

  • จังหวัดจันทบุรีนั้นทุกท่านคงจะทราบกันดีว่ามี ประเพณีงานชักพระบาท ของชาวบ้านหมู่บ้านตะปอน ซึ่งจะถูกจัดขึ้นหลังวันสงกรานต์ ประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกปี เป็นการเล่นชักเย่อระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย โดยจะมีเชือกผูกติดกับเวียน และมีคนคอยตีกลองอยู่บนเกรียน ถือว่าเป็นตัวแทนของพาหนะที่จะนำพระบาทไปทำพิธีอันศักดิ์สิทธิ์ คนตีกลองจะตีไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะ และฝ่ายชนะถือว่าฝ่ายที่มีสิริมงคล เพราะสามารถลากพระบาทขึ้นไปได้ทำกิจกรรมทางศาสนาได้
  • จังหวัดฉะเชิงเทราก็ถือว่ามีประเพณีที่ทุกท่านคงจะรู้จักกันเป็นดี คืองานขึ้นเขาเผาข้าวหลาม ซึ่งที่มาของประเพณีนี้คือสืบทอดมาจากชาวลาว ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมาอยู่ในประเทศไทย ตั้งแต่สมัย ต้นรัตนโกสินทร์ โดยในขณะนั้นทุกคนจะเรียกว่าชาวลาวเวียง เป็นการทำบุญถวายเข้าหลามให้กับพระสงฆ์ที่อยู่ในอำเภอพนมสารคาม ซึ่งงานประเพณีนี้จะถูกจัดขึ้นในทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม ขึ้น 15 ค่ำ เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับประเพณีเก็บเกี่ยวข้าวด้วย จะทำเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชาวบ้าน ที่มีอาชีพทำนาทำไร่ ถือเป็น วัฒนธรรมภาคตะวันออก อันเก่าแก่ ที่สืบทอดกันมาชั่วอายุคน จนถึงในปัจจุบัน
  • วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทั้ง 7 จังหวัด  ซึ่งประเพณีจังหวัดชลบุรีอีกหนึ่งจังหวัด ที่ถือว่าเป็นสถานที่อันโด่งดังของภาคตะวันออก ประเพณีที่นิยมทำกันเป็นอย่างมาก และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ก็คืองานกองข้าว เป็นงานที่จัดทำขึ้นมาช่วงเดือนเมษาหลังสงกรานต์ของทุกปี ประมาณ 19 – 21 เมษายน วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน เป็นการบวงสรวงสังเวยผี เพื่อให้ดูแลรักษา และไม่ให้มาทำลายตนเอง คนในครอบครัว รวมถึงสิ่งของในอนาคต และมีการออกบูธมาจำหน่ายขนมพื้นเมือง หรืออาหารพื้นเมือง ภายในงานนั้นนักท่องเที่ยวจะแต่งตัวเป็นชุดไทยมาจับจ่ายซื้อของพื้นบ้าน
  • ประเพณีของจังหวัดตาก รู้กันเป็นอย่างดีว่าจังหวัดตาก อยู่ริมทะเล และในอดีตมีการจัดทำสงครามทางทหารเรือ ซึ่งงานนี้ก็คือเป็นงานที่จัดทำขึ้นเพื่อสรรเสริญทหารไทยในยุทธนาวิถี ที่การจัดทำขึ้นในเกาะช้าง เพื่อรำลึกถึงเกียรติคุณของทหารไทย ที่เสียชีวิตจากการสู้รบระหว่างกองทัพเรือฝรั่งเศส และที่สำคัญเพื่อมีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของทหารเรืออีกด้วย ประเพณีวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวิถีที่เกาะช้าง ก็จะมีการออกบูธ มีนิทรรศการของทางราชการมาจัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้ของนักท่องเที่ยวอีกด้วย
  • ประเพณีจังหวัดระยองอีกหนึ่งอย่างที่มีอายุการสืบทอดกันมายาวนานนับ 100 ปี ก็คืองานทอดผ้าป่ากลางน้ำ โดยชาวบ้านนั้นจะนำพุ่มผ้าป่าไปป่าไว้กลางแม่น้ำประแส และยังตกแต่งให้สวยงาม จากนั้นจะนิยมพระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม และความเชื่อของชาวพระพุทธศาสนา ชาวบ้านก็จะพายเรือแจวเรือเข้ามาร่วมพิธีการกลางน้ำ หลังจากเสร็จพิธีการแข่งขัน ชาวบ้านก็จะจัดเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการแข่งเรือพาย การชกมวยทะเล หรือจะเป็นการแข่งพายกะโล่ เป็นต้น     

วัฒนธรรมภาคตะวันออก  ถือว่าเป็นประเพณีของภาคที่มีความหลากหลาย และมีความสนใจไม่น้อยไปกว่าจังหวัดอื่นของประเทศไทย เพราะเป็นสถานที่ที่เต็มไปด้วยเสน่ห์ อารยธรรม มนต์ขลังมากมาย ส่วนใหญ่จะสัมผัสถึงวัฒนธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เนื่องจากคนในท้องที่ มีความเชื่อและมีความศรัทธากันเป็นจำนวนมาก เป็นประเพณีเป็นที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษยาวนาน แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิต และวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่นของแต่ละจังหวัด วัฒนธรรมภาคตะวันออก อันเก่าแก่ ซึ่งแน่นอนว่านอกจากทุกท่านจะได้ความรู้ในการมาร่วมทำประเพณี และสืบทอดแล้วนั้น ยังได้รับความสนุกสนานจากการร่วมทำกิจกรรมในประเพณีด้วย เนื่องจากส่วนใหญ่นั้นก็ยังมีการละเล่นให้ผู้คนที่สนใจสามารถร่วมทำกิจกรรมได้ และตามความเชื่อของประเพณีนั้นอาจจะยึดมั่นกันเลยว่าปีใดที่ไม่ทำกิจกรรมนี้อาจจะส่งผลเสียต่อชีวิต เรียกว่าเป็นการทำเพื่อสิริมงคลของชาวบ้านละแวกนั้นก็เป็นได้ กิจกรรมประเพณีของจังหวัดทางภาคตะวันออกของไทยไม่ได้โด่งดังและจากกันแค่ชาวไทยเท่านั้น เพราะชาวต่างชาติก็นิยมมาร่วมเข้าทำกิจกรรม เพื่อรับประสบการณ์ใหม่ๆ และมาพบปะสังสรรค์หาความสนุกกันนั่นเอง

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

GCLUB จีคลับ เว็บไซต์พนันออนไลน์ บริการคาสิโนออนไลน์ 24 ชั่วโมง ด้วยระบบที่เป็นมาตรฐานระดับสากลออกแบบมาให้ใช้งานง่าย และรวดเร็ว ไว้คอยให้บริการท่าน