วัฒนธรรมภาคตะวันออก ดังไกลไปทั่วโลก ร่วมสืบสานประเพณี

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ดังไกลไปทั่วโลก ร่วมสืบสานประเพณี

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ดังไกลไปทั่วโลก

วัฒนธรรมประเพณีต่างๆ คือสิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่อดีตยาวมาจนถึงปัจจุบัน เรียกว่าเป็นเอกลักษณ์และมีความสำคัญต่อสังคมเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม รวมไปถึงศาสนา ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่ เป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมแต่ละสถานที่ ซึ่งแน่นอนว่าประเพณีนั้นเป็นสิ่งที่ดีงาม และเป็นสิ่งที่รักษากันไว้ วัฒนธรรมภาคตะวันออก ดังไกลไปทั่วโลก บางอย่างถือว่าเป็นวัฒนธรรมประจำชาติเลยทีเดียว ซึ่งหากประเพณีไหนไม่เหมาะสมต่อกาลเทศะ ก็จะเปลี่ยนแปลงและแก้ไขกัน ให้สามารถอยู่ในสังคมของเรามาได้ ในประเทศไทยมีวัฒนธรรมมากมายหลายภาค ทั้ง ใต้ กลาง เหนือ รวมไปถึงวัฒนธรรมภาคตะวันออก ซึ่งมีทั้งหมด 7 จังหวัด สำหรับบุคคลที่ชื่นชอบอยากจะศึกษา วัฒนธรรมภาคตะวันออก กิจกรรมที่น่าสนใจ วันนี้เราจะพามาให้รู้จักกับวัฒนธรรมที่มีความโด่งดัง และที่สำคัญยังเป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เป็นต้นแบบที่ดีให้แก่คนรุ่นต่อๆไป 

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ดังไกลไปทั่วโลก 

จังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทยมีจังหวัดมากมาย คือ จันทบุรีชลบุรี ฉะเชิงเทรา ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว ซึ่งแน่นอนว่าทุกจังหวัดนั้นจะมีความเชื่อของแต่ละท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป แต่ส่วนใหญ่วัฒนธรรมภาคตะวันออกดังไกลไปทั่วโลกจะมีอิทธิพลมาจากศาสนาเป็นหลัก รวมไปถึงความเชื่อของชาวบ้านในแต่ละพื้นที่ ประเพณี บางอย่างนั้นคือการกลับไหว้ผีสาง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และฟ้าฝนอีกด้วย ตัวอย่างเช่น

วัฒนธรรมภาคตะวันออก
  • ที่จังหวัดจันทบุรีจะมีงานชักพระบาท ซึ่งจะถูกจัดขึ้นหลังจากวันสงกรานต์ 1 วัน ประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกปี จะมีการชักเย่อระหว่างชายและหญิง บนชักเย่อจะมีเชือกผูกไว้บนเกวียน และจะมีคนตีกลองอยู่ข้างบน หากกลองดังขึ้นจะแสดงถึงการเริ่มชักเย่อ คนตีกลองจะตีจนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแพ้และชนะ ฝ่ายที่ชนะจะถือว่าเป็นฝ่ายที่มีความสิริมงคล สามารถแห่พระบาทไปรอบเมืองได้ แต่ในอดีตนั้นจะเป็นการที่ชาวบ้านแห่พระบาทกันรอบเมือง บนเกวียนจะตกแต่งดอกไม้ จัดสถานที่สวยงาม และมีการตีกลอง ฆ้อง โหม่งดังไปทั่วทั้งหมู่บ้าน วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อท้องถิ่น  ตอนนี้ในปัจจุบันเปลี่ยนมาทำการชักเย่อแทน และหลังจากวันชักเย่อรุ่งเช้าจะมีการทำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์  ซึ่งนับว่าจะเป็นอันเสร็จพิธีประเพณีชักเย่อเกวียนพระบาทจันทบุรี       
  • ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม จังหวัดฉะเชิงเทรา นับว่าเป็นประเพณีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษที่อพยพมาจากเวียงจันทน์ประเทศลาว ในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่ได้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การทำบุญเข้าหลามเป็นการทำบุญถวายเข้าหลาม ขนมจีนน้ำยาแก่พระภิกษุสงฆ์ที่วัดหนองบัว วัดหนองแขน มีการจัดทำขึ้นในวัน 15 ค่ำเดือน 3 ของทุกปี อิทธิพลของประเพณีนี้มาจากการที่เดือน 3 จะอยู่ฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ที่เป็นอาชีพหลักของประชาชนในจังหวัดนั้น และข้าวที่ได้เก็บเกี่ยวมาครั้งแรกเรียกว่าข้าวใหม่ จะมีกลิ่นหอมนำมาทำเป็นอาหารได้ ชาวบ้านจะใช้ไม้ไผ่สีสุกเป็นอุปกรณ์วัสดุในการเผา เพื่อจะทำให้ข้าวนั้นสุก แล้วนำไปถวายภิกษุสงฆ์ในวัดแต่ละพื้นที่ แต่ชาวบ้านจะเริ่มเผาข้าวหลามกันตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่ำเดือน 3 โดยจะไปหาไม้ไผ่ซึ่งมีอยู่มากในหมู่บ้านมาทำกระบอกข้าวหลาม ชาวบ้านจะเลือกไม้ไผ่ที่ไม่สุกและแก่เกินไปและก็ที่สำคัญคือไม่มีตามด เพราะตามดนั้นจะทำให้ข้าวมีกลิ่น และไม่มีเยื่อไผ่ ทำให้ข้าวหลามในกระบอกติดขึ้นมานั่นเอง วัฒนธรรมภาคตะวันออก กิจกรรมที่น่าสนใจ วัฒนธรรมนี้ถือเป็นการผสมผสานประเพณีไทย และประเพณีของชาวลาวเวียง ที่นับว่าเป็นวัฒนธรรมที่ดีงามของจังหวัดอีกหนึ่งอย่าง
  •  ประเพณีกองข้าว จังหวัดชลบุรี สืบทอดกันมาหลายอำเภอในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นอำเภอชลบุรี ศรีราชา และบางละมุง รวมมาถึงพนัสนิคม ฯลฯ ซึ่งในอดีตนั้นชาวบ้านเชื่อว่าการนำข้าว สำรับอาหารคาวหวาน มารวมกัน เชิญภูตผีทั้งหลายมากินปีละหนึ่งครั้ง จะไม่มีผีตนใดมาทำร้ายครอบครัว และทรัพย์สินของตนเอง พิธีเส้นไหว้ชาวบ้านจะมาล้อมวงนำอาหารมารับประทานร่วมกัน รวมไปถึงมีการร้องรำทำเพลง วัฒนธรรมภาคตะวันออก การละเล่น ที่สนุกสนาน อาหารที่เหลือจากประเพณีกองข้าวจะไม่นำกลับบ้านเลย จะทิ้งไว้เป็นฐานให้แก่สัตว์ที่อยู่บริเวณนั้น ประเพณีกองข้าวจะจัดงานเมื่อสงกรานต์ผ่านไปแล้ว 3-4 วัน

วัฒนธรรมภาคตะวันออกดังไกลไปทั่วโลกนับว่าเป็นระเบียบแบบแผนรวมไปถึงการร่วมแรงร่วมใจ ประสมกลมเกลียวของคนในชุมชนเฉพาะท้องถิ่น แต่โดยมากนั้นจุดประสงค์หลักของการจัดทำประเพณีคือการปฎิบัติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ เรียกว่าเป็นกฎหมายอย่างหนึ่งเลย ซึ่งตอนนี้อาจจะมีบางส่วนที่เสริมและถูกเติมแต่งเข้าไปให้เหมาะกับยุคและสมัย แต่สำหรับประเพณีไทยทุกอย่างส่วนมากมักมีความเชื่อมาจากพระพุทธศาสนาและพราหมณ์ วัฒนธรรมภาคตะวันออกความเชื่อท้องถิ่น รวมไปถึงอิทธิพลของอาชีพชาวบ้านในพื้นที่แต่ละอย่างด้วย 

อ่านบทความอื่น ๆ >> งานนมัสการรอยพระพุทธบาทเขาคิชฌกูฏประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์เก่าแก่ของจันทบุรี

สนับสนุนโดย : https://gclubspecial168.com/ บริการเว็บไซต์พนันออนไลน์ที่มีทั้ง คาสิโนออนไลน์ และการพนันออนไลน์ อื่นๆไว้คอยให้บริการท่านอย่างไม่ติดขัด