บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก

ไม่ว่าจะเป็น ประเพณี วันไหลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรือการแข่งขันวิ่งควายของจังหวัดชลบุรีเป็นต้น นอกจากที่จังหวัดชลบุรแล้ว บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ของเราก็ยังมีจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันออกของไทยที่มีงานเทศกาลที่สะท้อนขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงานของชาติอีกมากมาย วันนี้บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออกภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเรียนรู้และทำความรู้จักกัน

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งภาคตะวันออกมีทั้งหมด 7 จังหวัด ด้วยกัน 

ประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดมี บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก มีความน่าสนใจในเรื่องของ ประเพณี ท้องถิ่นประจำจังหวัดมากมาย วันนี้เราจะมา บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก ศรีราชา เช่น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นต้น

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก
  • งานทอดผ้าป่ากลางน้ำ ของจังหวัดระยอง เป็นงานที่มีอายุมากกว่า 100 ปี โดยประชาชนจะนำพุ่มผ้าป่าที่ทำงานไม้ต้นฝาดหรือต้นโปรงพืชที่ขึ้นกลางน้ำพร้อมประดับตกแต่งให้สวยงาม ไปปักไว้กลางแม่น้ำประแสร์ จากนั้นนิมนต์พระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม ประเพณี ในทางพระพุทธศาสนา โดยพระสงฆ์ต้องถูกนิมนต์ลงเรือไปยังพุ่มผ้าป่ากลางลำน้ำประแสร์ ส่วนประชาชนที่ร่วมประกอบพิธีก็จะพายเรือ แจวเรือเข้าร่วมพิธีกลางลำน้ำนั้น หลังเสร็จจากพิธีสงฆ์ ชาวบ้านจะมีการแข่งขันและเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมาย บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออกกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็น การแข่งเรือพาย แข่งพายกะโล่ แข่งพายเรือข้ามลำไม้ไผ่ แข่งชกมวยทะเล เป็นต้น
บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก
  • งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ของจังหวัดปราจีนบุรี ทุกๆ วันที่ 16 เม.ย. ของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้วให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง  โดยเริ่มจากบริเวณศาลเจ้าพ่อพระปรง ม.8 มาตามถนนสุวรรณศร สระแก้ว-กบินทร์บุรี เรื่อยไปตามถนนสาย304 เข้าแยกปากท้องบ้านทุ่งแฝก สู่ตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์  โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น ชาวอำเภอกบินทร์บุรี บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออกภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านานและโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา โดยเริ่มตั้งแต่ในช่วงเช้าของวันที่ 15 เมษายน จะมีการอัญเชิญองค์เจ้าพ่อพระปรงลงประทับที่แท่นต่ำ เพื่อให้ประชาชนทำการปิดทองและสรงน้ำ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์โดยศาลเจ้าพ่อพระปรงตั้งอยู่ริมถนนสุวรรณศร(หมายเลข 33) หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านนา อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ต่อกับเขต จ.สระแก้ว และริมแควพระปรง ซึ่งเป็นลำน้ำกั้นเขตแดนสองจังหวัด ในแต่ละวันที่มีประชาชนได้เดินทางสัญจรผ่านไปมาในเส้นทางนี้ไปยัง จ.สระแก้ว หรือเข้าสู่จังหวัดบุรีรัมย์ทาง อ.คลองหาด ก็จะมีประชาชนแวะมาสักการะกราบไหว้หรือไม่ก็บีบแตรยานพาหนะเป็นการแสดงความเคารพ
บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก
  • ประเพณีกองข้าวเป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดชลบุรีโดยแท้ที่สืบต่อๆกันมาตามประวัติ เล่าว่าประเพณีกองข้าวจัดในหลายอำเภอ อาทิเช่น อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอศรีราชา อำเภอบางละมุง อำเภอพนัสนิคม ฯลฯ ครั้นกาลเวลาล่วงเลยผ่านไปในบางพื้นที่ประเพณีได้เลือนหายไป ที่ศรีราชายังคงอนุลักษณ์ไว้อย่างต่อเนื่องและเหนียวแน่น จนกระทั่งกลายเป็นประเพณีเอกลักษณ์ของชาวศรีราชา โดยเฉพาะเมื่อ เทศบาลเมืองศรีราชาและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกันจัดงานกองข้าวศรีราชา เริ่มแต่ปี 2536 เป็นต้นมา โดย บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก ศรีราชา นั้นกำหนดจัดงานประเพณีระหว่างวันที่ 19 – 21 เมษายน ของทุกปี การจัดงานประเพณีกองข้าวเป็นการสนับสนุนส่งเสริมฟื้นฟูอนรักษ์และประเพณีของ ท้องถิ่น ปัจจุบันเทศบาลเมืองศรีราชาได้ผนวกงานสงกรานต์เข้ารวมเป็นงานเดียวกัน และให้ชื่อว่า “งานสงกรานต์ศรีมหาราชาและประเพณีกองข้าว” โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมรณรงค์ให้เด็กเยาวชน และประชาชน ได้เกิดจิตสำนึกในความเป็นคนไทยที่มีเอกลักษณ์และขนบธรรมเนียมประเพณีการ แต่งกายที่ดี ให้ดำรงสืบทอดต่อไป และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย

บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก ประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดก็มี บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก กิจกรรม และมีการสืบทอดมาอย่างช้านานตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษ เพราะแต่ละภาคนั้น ก็มีประเพณีที่มีการสะท้อนให้เห็นถึงขนบธรรมเนียมต่างๆ อันเป็นจุดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ และนี่แหละ นับว่าเป็นมนต์เสน่ห์ของภาคตะวันออกของเรา ที่จะทำให้นักท่องเที่ยวทุกท่านต้องตกหลุมรัก

ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว สร้างความสามัคคีแก่คนท้องถิ่น

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย