Categories
ข้อมูล

อยากให้ดู ของดีเมืองตราด ดีจนใครที่ขับรถผ่านต้องแวะ!!

ในบทความนี้เราจะมาเริ่มต้นพูดกันในเรื่องเกี่ยวข้องกับจังหวัดที่อยู่ภาคตะวันออกเหมือนเดิมโดยจังหวัดที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดตราด แน่นอนว่าจังหวัดนี้เป็นจังหวัดที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางไปพักผ่อนหรือแวะซื้อของกันมากเลยทีเดียวไม่แพ้จังหวัดอื่นๆ แต่สิ่งหนึ่งที่จังหวัดนี้ไม่เหมือนที่อื่น คือ จะมีชื่อเสียงด้าน ของดีเมืองตราด และในปี 2024 นี้เราก็จะพาทุกคนไปพบกับ ของกินขึ้นชื่อตราด เพราะเมื่อไหร่ที่คนเดินทางไปจังหวัดนี้ต่างก็ต้องขับรถแวะเป็นประจำอย่างเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นวันนี้เรามาลุยดูว่าจะมีอะไรบ้างที่ขึ้นชื่อแล้วก็อร่อยจนต้องร้องว้าว!! อย่าช้าตามมาอ่านต่อกันเลย

ของดีเมืองตราด

อันดับ ของดีเมืองตราด ที่ดีที่สุดเมื่อมาเที่ยวที่นี่ต้องลองกินสักครั้ง

ขึ้นชื่อว่าเป็นจังหวัดท่องเที่ยวและคนก็เดินทางเข้ามาบ่อยมากก็ต้องมี ของดีเมืองตราด อยู่แล้ว อย่าง ของกินขึ้นชื่อตราด ที่นี่จะเน้นพวกขนม ผลไม้ อาหารหรือ ของฝาก อาหารทะเลแห้ง ซึ่งจากการสำรวจปรากฏว่ามี ร้านของฝากตราด ด้วย คือ เจ้อ้อของฝาก เมืองตราด ของฝากจันทบุรี ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นจุดเด่นของจังหวัดนี้ทำให้คนที่เข้ามาเที่ยวเกิดความสนใจแล้วก็แวะซื้อของฝากเหล่านี้กลับบ้านพร้อมความสุขเนื่องจากที่แห่งนี้ให้บริการนักท่องเที่ยวอย่างดีนั่นเอง เอาล่ะตอนนี้ก็ได้เวลาที่ทุกคนต้องมาดูอันดับ ของดีเมืองตราด กันแล้วโดยเราจะเรียงจากสิ่งที่คนชอบมากที่สุดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจน ดังนี้

1. ระกำ

อันดับแรกนี้ คือ ระกำ เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางแวะมาที่แห่งนี้เลยก็ว่าได้โดยผลไม้ชนิดนี้เป็น ของกินขึ้นชื่อตราด รวมถึงมีการปลูกในพื้นที่ของจังหวัดมากที่สุด นอกจากนี้ยังได้มีการจัดประกวดอย่างสม่ำเสมอทุกปีด้วยเพื่อช่วยให้ระกำมีชื่อเสียงมากขึ้นรวมถึงช่วยให้เศรษฐกิจของที่นี่ดีขึ้นเรื่อยๆ ระกำถือเป็นผลไม้ที่หวานและอร่อยจึงไม่แปลกที่ใครมาเที่ยวจะไม่ชอบกิน ส่วนใหญ่คนกินแล้วมักซื้อกลับบ้านกันเยอะด้วย

2. สับปะรดราดสีทอง

อันดับสองนี้ คือ สับปะรดราดสีทอง เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางแวะมาที่แห่งนี้เช่นกันเนื่องจากเป็นผลไม้สายพันธุ์ของจังหวัดนี้เท่านั้นและมีรสชาติที่หวานมากกว่าสายพันธุ์อื่นด้วย รวมถึงมีการปลูกในพื้นที่ของจังหวัดเพื่อส่งออกไปยังต่างประเทศซึ่งทำมานานหลายปีแล้ว ใครที่ชอบผลไม้สายหวานต้องลองกินสับปะรดราดสีทองดูสักครั้งจะติดใจแน่นอนขอบอก

3. อาหารทะเล

ลำดับสุดท้ายนี้ คือ อาหารทะเล เป็นสิ่งที่คนที่มาเที่ยวชอบซื้อกินเหมือนกับผลไม้สองอันดับแรกที่ได้นำเสนอไป เพราะจังหวัดนี้ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทยทำให้มีอาหารทะเล ได้แก่ กุ้ง หมึก หอยแครง ปู ปลาทะเลออกมาขายจำนวนมากคนที่ชอบกินอาหารทะเลเลยไม่พลาดที่จะมากินที่นี่ นอกจากนี้ยังเปิดขายในรูปแบบ ของฝาก อาหารทะเลแห้ง ด้วย หากใครชอบอาหารทะเลแบบแห้งกก็สามารถซื้อกินได้เหมือนกัน

ของดีเมืองตราด

แนะนำ ร้านของฝากตราด ที่มีชื่อเสียง โด่งดังที่คุณไม่ควรพลาดซื้อ

เมื่อรู้เรื่อง ของดีเมืองตราด ที่คนชอบซื้อกินมากที่สุดแล้วเรามาเจาะลึกถึงประเด็น ร้านของฝากตราด กันต่อบ้างดีกว่าโดยเราจะแนะนำร้านที่มีชื่อเสียง โด่งดังมากที่สุดของที่นี่ก็แล้วกัน คือ เจ้อ้อของฝาก เมืองตราด ของฝากจันทบุรี ซึ่งมีของเยอะแยะมากมายวางขายให้ทุกคนเลือกหยิบได้ตามใจชอบเลย เอาล่ะเรามาดูว่าจะมีของอะไรบ้างที่เปิดขายในร้านนี้ ตามมาดูด้านล่างนี้

เจ้อ้อของฝาก เมืองตราด

ร้านแรกเป็นร้านที่มีคนเข้าไปซื้อของกันเยอะมากที่สุดเพราะมีทั้งขนม อาหารสดและแห้ง ของที่ระลึก รวมทั้งอาหารแปรรูปด้วย ได้แก่ สับปะรด ทุเรียน น้ำพริกแกงป่า น้ำพริกกะปิ น้ำพริกตาแดง น้ำพริกไข่ปู น้ำพริกหลากรส น้ำพริกรสเด็ด ปลาเค็ม น้ำปลา กุ้งแห้ง หมึกแห้ง ปลาแห้ง หมึกชุบสามรส ทุเรียนหมอนทองอบกรอบ ที่ตั้งของร้าน คือ สาขาตราด 1 หมู่ 4 ตำบลบางพระ อำเภอเมือง และถ้าหากใครไปไม่ถูกสามารถโทรติดต่อได้ที่เบอร์ 0845657419 เปิดบริการทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการในเวลา 06.30 – 19.30 น. ใครที่ชอบซื้อของไปฝากคนในครอบครัวหรือเพื่อนแนะนำร้านนี้เลย ถูกปากแถมอร่อยแน่นอน

ของฝากจันทบุรี

ร้านที่สองนี้เป็นร้านที่ได้รับความนิยมเช่นเดียวกับร้านแรกเนื่องจากมีผลไม้อย่างทุเรียนเป็นหลักเพราะจังหวัดจันทบุรีเป็นเมืองทุเรียน คนที่ชอบกินทุเรียนเป็นชีวิตจิตใจน่าจะชอบมาก ภายในร้านจะมีทั้งทุเรียนกวน ทุเรียนทอดกรอบ แครกเกอร์ทุเรียน ทุเรียนสแน็ค เมี่ยงทุเรียนกรอบสมุนไพร นอกจากนี้ยังมีสับปะรดกวน กล้วยกวน ปลากรอบสามรส ลำไยอบแห้ง ตังเมกรอบ ปูอบโอ่ง แกงหมูชะมวง ขนมโก๋ญวนและอีกมากมายที่ขาย หากขับรถไปแวะซื้อจะเห็นมีของในร้านเต็มไปหมดเลือกได้ตามใจชอบเลย

สรุปเกี่ยวกับของดีเมืองตราด ที่แตกต่างจากที่อื่นแถมคุณภาพดีจริง

จากการนำเสนอเรื่องของดีเมืองตราด ไปข้างต้นแล้วว่าเมืองนี้ได้มี ของกินขึ้นชื่อตราด และ ร้านของฝากตราด ซึ่งสรุปได้ว่ามีของกินอย่างระกำ สับปะรดแล้วก็อาหารทะเล ซึ่งแต่ละอย่างนั้นก็ได้รับความนิยมจากคนที่เข้ามาเที่ยวแทบจะทั้งหมด ดังนั้นหากใครอยากจะกินอาหารทั้งสดและแห้งสามารถมาเที่ยวที่แห่งนี้ได้รวมถึงซื้อของฝากกลับบ้านด้วยการไปที่ร้าน เจ้อ้อของฝาก เมืองตราด ของฝากจันทบุรี ได้เช่นกัน รับประกันได้คุ้มค่าแก่การขับรถมาไกลอย่างแน่นอนแถมคุณภาพของดี บริการก็เยี่ยมด้วย

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ข้อมูล

ของฝากจังหวัดตราด สินค้าชั้นดี

ของฝากจังหวัดตราด

มาเที่ยว จังหวัดตราดแล้ว กำลังมองหา ของฝากจังหวัดตราด บอกเลยว่าที่นี่มีครบ ไม่ว่าจะเป็น สินค้า แบบไหนก็มีคุณภาพได้มาตรฐาน

ของฝากจังหวัดตราด สินค้ามีคุณภาพ   

 หากคุณมาเที่ยว จังหวัดตราด แน่นอนว่าต้องมีของฝากติดไม้ติดมือกลับไปฝากคนที่บ้านแต่ยังไม่รู้ว่าจะ เลือก ของฝาก ชนิดไหนที่เหมาะกับคนที่บ้านเราขอแนะนำให้คุณอ่านรีวิวจากเรา รับรองได้ว่าคุณจะตัดสินใจไม่ยากเลยเพราะเราจะเลือกของฝากจังหวัดตราด ท็อปเทนที่คนนิยมซื้อกลับบ้านมากที่สุดเวลาไปเที่ยวจะได้ไม่ต้องไปหาของฝากให้เสียเวลา แถมยังได้ บรรจุภัณฑ์ และคำแนะนำจากเราอีกด้วยรับรองเลยว่าราคาไม่แรงจังหวัดตราด ยังมีที่เที่ยวและสถานที่สวยๆ อีกหลายที่ ที่อยากให้คุณแวะก่อนกลับให้ครบอีกด้วยค่ะ 

ของฝากจังหวัดตราด

รีวิวของฝากจังหวัดตราด น้ำปลาแท้ตราสามกระต่าย 

 ต้องบอกเลยว่า น้ำปลาแท้ตราสามกระต่าย เป็น ของฝากจังหวัดตราด ที่ขึ้นชื่อว่าใครมาแล้วก็ต้องซื้อติดกับบ้าน เพราะสินค้าชิ้นนี้  ทำออกมาได้ถึงรสน้ำปลามากๆ รสชาติดี หากใครเป็นผู้ที่ชอบทำอาหารเราเชื่อว่าน้ำปลาเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องติดครัวไว้แน่นอนแถมนำปลาจาก จังหวัดตราด ตราสามกระต่ายนั้นมีคุณสมบัติครบถ้วนการบรรจุภัณฑ์สะอาดและราคาไม่แพงหมักไว้นานถึงสิบสองเดือนรสชาติจะไม่เค็มโดด ออกหวานนิดๆ มีน้ำตาลอมแดง สีใส ไม่มีตะกอนทำให้สินค้าตัวนี้เป็นที่นิยมที่คนมักจะซื้อกลับเป็นของฝาก ราคาเพียงสิบห้าบาท เท่านั้น 

ของฝากจังหวัดตราด

ของฝาก จังหวัดตราด ขนมตังเมกรอบโบราณ

 ขนมตังเมกรอบ ขนมไม้โบราณของเมือง จังหวัดตราด เป็นขนมที่ขึ้นชื่อเลยในสำหรับเด็ก 90 ไม่มีใครรู้จักเพราะเป็นเหมือนขนมชิ้นไม้นั่นเองค่ะเป็นขนมโบราณที่หลายๆ คนจะเรียกว่าขนมไม้ เพราะมีหน้าตาเหมือนไม้จริงๆ แต่มันคือขนมตังเม นั่นเอง ต้องบอกเลยว่า จังหวัดตราด เป็นผู้ริเริ่มการทำขนมชนิดนี้ขึ้นมา ส่วนผสมไม่มีอะไรมากเลยแค่ใช้น้ำตาและน้ำกะทิ กวนจนเหนียวให้มีรสชาติที่พอดีรับรองเลยว่าขนมตังเม จากจังหวัดตราด นั้นจะอร่อยกว่าทุกที่ไม่เหม็นหืน มีอย ไม่ใส่สารกันบูด เก็บรักษานานกว่าสองเดือนราคาเริ่มต้นที่สามสิบบาทเท่านั้น ของฝากจังหวัดตราดชื่อดังที่ไม่ควรพลาดเลย 

น้ำพริกนรกกุ้ง ตราจิราภา ของฝากจังหวัดตราดชื่อดัง 

สำหรับ ท่านไหนที่ชอบกิน น้ำพริก มากๆ เราขอแนะนำ น้ำพริกนรกกุ้งตราจิราภา ต้องบอกเลยว่าน้ำพริก แบรนด์นี้ดังมากและหลายๆคนจะเลือก นำเป็นของฝากที่บ้านหากคุณกำลังมองหาตัวนี้ตอบโจทย์มากที่สุดเพราะได้ ผ่านการผลิตขบวนการมาอย่างดีมีความสะอาด ใช้วัตถุดิบได้มาตรฐานมีส่วนผสมกุ้งเน้นๆ พริกแดง น้ำตาลเกลือป่นและอื่นๆ รับรองได้ว่ารสชาตินั้นจัดจ้านเผ็ดกำลังพอดี ทำให้คุณไม่เสียอารมณ์เหมือนกับคุณกินน้ำพริกนรกกุ้งที่อื่นอย่างแน่นอนเก็บรักษาได้ถึง 6 เดือน ราคาเริ่มต้นอยู่ที่ห้าสิบเก้าบาท ของฝากจังหวัดตราดที่เราแนะนำ

กะปิเกาะช้าง แม่ระเบียบสินค้า OTOPของฝากจังหวัดตราด

กะปิเกาะช้าง แม่ระเบียบ ต้องบอกเลยว่าเป็นกะปิของดีของจังหวัดตราด เป็น สินค้า OTOP หลายๆคนมาแล้วต้องซื้อกลับ ที่เอาไปประกอบในครัวเรือน  ต้องบอกเลยว่าหากคุณซื้อไปฝากคนที่บ้าน คนที่บ้านต้องถูกใจเพราะอาหารจะอร่อยอยู่ที่กะปิด้วยนั่นเอง จุดเด่นขอ งกะปิ ที่นี่คือเขา ผลิตจากกุ้งแท้ ไม่ใส่สี และไม่มีสารเจือปนใดๆทั้งสิ้นรสชาติออกเค็มหน่อยๆผ่านกระบวนการทำที่สะอาดสะอ้านรับรองเลยว่าปลอดภัย มีสองประเภทคือกะปิแกงและกะปิน้ำพริกนั่นเอง เก็บรักษานานได้ถึงหกเดือน ราคาเริ่มต้นอยู่ที่หนึ่งร้อยบาทมาแล้วห้ามพลาดที่จะซื้อกะปิ ของฝากจังหวัดตราด กับบ้าน เลยนะคะ 

แชร์ ไอเดียของฝาก ของฝากจังหวัดตราดไปแล้วอย่าลืมไปหาให้คนที่บ้านนะคะ รับรองเลยว่ารีวิวจากเรานั้นเป็น สินค้า OTOP และเป็นสินค้าที่คนเลือกซื้อมากที่สุดราคาไม่แรงที่สำคัญอร่อยสะอาด ขั้นตอนการทำดี ปลอดภัย 100% แถมไม่ได้มีดีแค่ของฝาก ยังมีที่เที่ยวสวยๆ ให้คุณได้แวะอีกด้วย สร้างความประทับใจกลับบ้านไม่น้อยเลยค่ะ 

อ่านบทความอื่น ๆ >> ของฝากจังหวัดชลบุรีสินค้าชั้นดี 

วันหยุดสุดฟินที่ระยอง แหล่งท่องเที่ยวบรรยากาศดี  เดินทางสะดวก

Categories
ข้อมูล

ของฝากจังหวัดชลบุรีสินค้าชั้นดี 

มาเที่ยวโซนภาคตะวันออก อย่าง จังหวัดชลบุรี ต้องมี ของฝาก ติดมือกลับบ้าน รับรองสินค้าจากที่นี่ อร่อยเป็นเอกลักษณ์ไม่แพ้ที่อื่น 

จังหวัดชลบุรี

จังหวัดชลบุรี ของฝากที่เราแนะนำให้คุณได้ 

ที่เที่ยว จังหวัดชลบุรี มีหลายสถานที่เที่ยวให้คุณเลือกมาเช็คอิน ต้องบอกเลยว่าแต่ละที่สวยเด็ด ไม่แพ้ที่อื่น ไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทางบก ทางน้ำที่นี่ครบจริงๆ ได้สัมผัสความเป็นธรรมชาติแบบใกล้ชิดมากที่สุดด้วย ได้ทั้งความสวย ถ่ายภาพ และได้ลิ้มรสอาหารทะเลแบบสดๆ บริการให้หมดไม่ว่าจะย่าง น้ำจิ้ม ไฮไลท์ส่งท้าย ก่อนที่จะกลับบ้าน คือ ของฝาก ขอ งจังหวัดชลบุรี ที่คุณไม่ควรพลาดเลย 

จังหวัดชลบุรี

ของฝากจากจังหวัดชลบุรี ราคาไม่แรง สดสะอาดถูกหลักอนามัย

  1. ปลาทูหอม ของดีจากจังหวัดชลบุรี  ของฝากขึ้นชื่อของที่นี่เลย  บรรจุภัณฑ์ปลาทูหอม  มีการออกแบบการดีไซน์ที่ทันสมัย สวย แพคเกตอย่างดี  ลักษณะการออกแบบ ของปลอกสวมที่มีขนาดแคบ และยาว เพื่อโชสว์ตัวปลาในด้านใน บรรจุด้วยในถาด ด้วยการซีลร้อนพลาสติกเป็นอย่างดี ทำให้สินค้ามีความแข็งแรงด้วยกระดาษแข็ง รสชาติอร่อย ราคาไม่แพง ที่นักท่องเที่ยวนิยมซื้เอเป็น ของฝาก
  2. ปลาหมึกบด ของดีจากจังหวัดชลบุรี  บรรจุภัณฑ์ปลาหมึกบด  เป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมไม่น้อยกว่าที่อื่นเลย การออกแบบราคาให้เต็ม 10 ไม่มีหัก ได้รับการปรับขนาดให้มีไซน์ที่เล็ก และดูสวยงาม จากการออกแบบ ให้ทันสมัย น่าซื้อเป็นของฝากกลับมากๆ ปริมาณปลาหมึกบดเท่าเดิม เพื่อความสะดวกต่อการรับประทาน โดยปลาหมึกบดจะถูกบรรจุไว้ในถุงซิปล็อกใส นั่นเอง
จังหวัดชลบุรี

ของฝากจาก จังหวัดระยอง 

  1. ทุเรียนกวนพอดี บรรจุภัณฑ์ทุเรียน จาก จังหวัดระยอง ของฝากที่เด็ดที่สุด ของจังหวัดเลยก็ว่าได้ ถูกออกแบบ มาเพื่อรองรับรูปทรงของทุเรียน มีลักษณะยาว จากฟอร์มสามเหลี่ยม และมีความทนทานมาก ง่ายต่อการขนส่ง มีฟันสามเหลี่ยมสำหรับการปิดท้าย เสริมให้มีความแข็งแรง นอกจากนี้ยีงมีการออกแบบที่สวยงามอีกด้วยกราฟิกลงบนบรรจุภัณฑ์ในแบบต่างๆ โทนสีเขียวและเหลือง รวมถึงภาพผีเสื้อสมุทร นางยักษ์จากเรื่องพระอภัยมณี
  2. ทุเรียนทอด ของดีจากระยอง บรรจุภัณฑ์ทุเรียนทอด ที่น่าเป็นของฝากมากๆ   มีการออกแบบสวยงาม กราฟิกสวยงาม แต่ ทุเรียนกรอบจริง สัญลักษณ์สร้างชื่อของ จังหวัดระยอง ทำให้โดดเด่นให้กับสินค้าได้อย่างชัดเจน นำเป็นของฝากได้ดี ไม่น้อยไปกว่าจังหวัดชลบุรี 
  3. มะม่วงกวน ของดีเมืองระยอ ราคาไม่แรง น่าเอากลับไปของฝากจังหวัดนี้ไม่น้อยหน้าจังหวัดชลบุรี บรรจุภัณฑ์มะม่วงกวน ได้รับการออกแบบในลักษณะบรรจุภัณฑ์ที่มีหูหิ้วในตัว  ทำให้ผู้ซื้อได้ใช้งานได้สะดวกสบาย แถมรสชาติกลมกล่อม อร่อยมากๆ อีกด้วย  จะได้รับการหุ้มห่อด้วยกระดาษไข เพื่อรักษาคุณภาพของเนื้อมะม่วงกวน
จังหวัดชลบุรี

ของฝากจังหวัดฉะเชิงเทรา อร่อยเด็ดไม่แพ้ จังหวัดชลบุรี

  1. ขนมเปี๊ยะ ฉะเชิงเทรา บรรจุภัณฑ์ขนมเปี๊ยะ ด้วยการออกแบบอย่างดีวัสดุสวยงาม ใส่ได้ 2 ชิ้น ทำให้เวลาที่รับประทาน ได้ทานแบบพอดีคำอีกด้วย ได้ทั้งรสชาติอร่อย และการผลิต รสชาติโบราณ จากรุ่นสู่รุ่น เป็นของฝาก ของจังหวัดฉะเชิงเทราที่เราแนะนำเลย ได้รับการออกแบบมาให้ง่ายต่อการใช้งาน โดยภายในบรรจุขนมเปี๊ยะ 2 ชิ้น ในขนาดที่รับประทานแบบพอดี แต่ยังคงรสอร่อยและกระบวนการผลิตแบบโบราณดั้งเดิมจากรุ่นสู่รุ่น รสชาติอร่อยไม่แพ้ ที่อื่นเลย 
  2. โบราณกาละแม กะทิจัดเต็มจาก ฉะเชิงเทราเป็นอีกของฝากรสชาติเด็ด ที่ไม่ควรพลาดเลยค่ะ พกพาไปได้ง่าย เปิดทานได้ สะดวก รับประทานครั้งละ 1 ครั้ง ต่อ 1 ห่อ มีการออกแบบสวยงาม รสชาติอร่อยไม่เป็นสองรองใคร 
จังหวัดชลบุรี

แต่เมื่อยุคเปลี่ยนไป การออกแบบ ผู้ผลิต ก็มีความคิดที่สร้างสรรค์มากขั้น และแนวการออกแบบลที่ล้ำสมัยขึ้นไปอีกด้วย ทำให้มีสีสันสวยงาม  น่าสนใจมากๆ เพื่อช่วยกระตุ้น พฤติกรรมการเลือกซื้อของนักท่องเที่ยว ที่ฉลาดมาขึ้นอีกด้วย 

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) หรือ CEA จับมือผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบรนด์และออกแบบบรรจุภัณฑ์ ดำเนินโครงการพิเศษ ของฝาก 3 จังหวัดในพื้นที่อีอีซีอย่าง “ฉะเชิงเทรา – ชลบุรี – ระยอง” ยกระดับของฝากโลคอลแบรนด์ ให้มีความทันสมัย แปลกใหม่เพื่อกระตุ้นเรษฐกิจให้ดีขึ้นอีกด้วย  เรารับรองว่าคุรจะไม่เสียใจฟรีอย่างแน่นอน

อ่านบทความอื่น ๆ >> ที่เที่ยวเด็ก เมืองพัทยา ตอนรับซัมเมอร์

ที่ไหนดีชลบุรี เว็บไซต์รวบรวมเรื่องราวสถานที่ดีๆในชลบุรีทุกประเภท

Categories
ข้อมูล ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ ประเพณีที่เป็นไปตามวิถีชีวิตของชาวแกลง

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ ประเพณีที่เป็นไปตามวิถีชีวิตอันเป็นสัญลักษณ์ของชาวแกลง

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์-

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ ของอำเภอแกลง จังหวัดระยอง เป็นประเพณีที่มีแห่งเดียวในประเทศไทย มีการทอดผ้าป่าและแข่งเรือยาวในเวลากลางวันและลอยกระทงในเวลากลางคืน ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ เป็นไปตามวิถีชีวิตของผู้คนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ติดกับแม่น้ำ อันได้แก่ แม่น้ำประแสร์ ที่ประชาชนมีอาชีพประมง ชาวประแสร์นับถือศาสนาพุทธมาแต่บรรพบุรุษ เมื่อมีเงินทองก็คิดที่จะทำบุญ 

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ ประเพณีเก่าแก่ที่มีความเป็นมาอย่างยาวนาน

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์-

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ นั้นมีมานานแล้ว ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ หนึ่งเดียวในไทย  ในสมัยก่อนไม่มีการจดบันทึก แต่พอสันนิษฐานได้ว่า มีมาหลังจากมีการทอดกฐินและทอดผ้าป่ากลางน้ำ ที่วัดสมมติเทพฐาปนาราม หรือวัดแหลมสนที่ชาวบ้าน เพราะการไปทอดกฐิน และผ้าป่าต้องไปทางเรือ ชาวบ้านในแถบนี้มีความชำนาญทางเรืออยู่แล้ว เนื่องจากเป็นชาวประมง จึงต้องการแข่งเรือเพื่อความสนุกสนาน ดูความสามารถของชาวเรือ และเพื่อช่วยประกอบให้งานทอดผ้าป่ากลางน้ำได้เด่นดังขึ้น การแข่งขันเรือยาวเป็นกีฬาพื้นบ้านของไทยมาตั้งแต่อดีตเมื่อสมัยอยุธยาเป็นราชธานี ถือว่าเป็นราชพิธีประจำเดือนในช่วงปลายฤดูฝน การแข่งขันเรือยาว จึงได้สืบทอดมาเป็นประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย แสดงถึงวิถีชีวิตความสนุกสนาน ความสามัคคี ซึ่งเห็นได้จากที่มีการจัดให้มีประเพณีแข่งขันเรือยาวทุกภาคของไทย การแข่งขันเรือยาว ได้จัดจัดทำในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตรงกับวันงานทอดผ้าป่ากลางน้ำและ วันลอยกระทง ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ จะจัดขึ้นบริเวณริมแม่น้ำปากน้ำประแสร์ เป็นด้านหลังบ้านของชาวตลาดปากน้ำประแสร โดยวิธีการจัดการแข่งขัน จัดโดยคณะกรรมการจัดงานผ้าป่ากลางน้ำ จะมีเรือจากหมู่บ้านและตำบลใกล้เคียงมาร่วมแข่งขัน บางปีจะมีเรือยาวจากจังหวัดจันทบุรี เข้าร่วมแข่งขันด้วย ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ เป็นไปตามวิถีชีวิตของผู้คนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ติดกับแม่น้ำ เรือยาวที่เข้าร่วมแข่งขันจะเป็นเรือประจำของวัดต่าง ๆ ในตำบลนั้น และต่างตำบล บางลำเป็นเรือของชาวบ้าน โดยเริ่มงานตั้งแต่เวลา 09.00 น.จะมีเรือเข้าแข่งขันหลายขนาด เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง จำนวนผู้พายจัดจำนวนขนาดพอเหมาะกับขนาดของเรือ เรือแข่งนี้จะจัดตกแต่งให้สวยงามทั้งลำเรือ และคนพาย เรือบางลำมีผีพายเป็นชายล้วน บางลำก็เป็นหญิงทั้งหมด บางลำมีทั้งชายและหญิง ผีพายมีทั้งคนหนุ่มสาวและคนมีอายุ การแข่งขันจะเริ่มด้วยการเปรียบเทียบจำนวนคนพายเท่า ๆ กัน หรืออาจจะมากกว่ากันเล็กน้อยเมื่อแจ้งคณะกรรมการที่ได้ทำการแข่งขันแล้ว เรือเหล่านั้นจะพายเล่นไปตามลำแม่น้ำเพื่อให้ประชาชน ได้ชมและเพื่อความสนุกสนานของผีพายในเรือนั้น เรือที่จะเข้าแข่งขันจะมีทั้งประเภทสวยงาม ประเภทตกแต่งตลกขบขัน และประเภทแข่งผีพายธรรมดา เรือแต่ละลำจะมีการร้องรำทำแพลงกันอย่างครึกครื้น บ้างพายไปมา บางลำก็จอดอยู่กับที่ จะมีห่อข้าว ขนมและเครื่องดื่มแจกให้คนพายทุกคนจากคณะกรรมการจัดงาน และมีผู้ใจบุญนำมาให้ การประกวดเรือประเภทสวยงามและประเภทความคิดจะประกวดในภาคเช้า หลังจากรับประทานอาหารตอนกลางวันแล้ว เริ่มแข่งขันเรือพายคือเวลาประมาณ 13.00 น . จะแข่งคราวละ 3 – 4 ลำ ตามจำนวนเรือที่เข้าแข่งขันและจำนวนผีพาย เมื่อได้เรือชนะที่ 1 แล้ว จะให้เรือที่ชนะรอบแรก ได้เข้าแข่งขัน ในรอบชนะเลิศอีกครั้ง ในการแข่งขัน จะมีของรางวัลให้แก่เรือที่เข้าประกวดและแข่งขันทุกลำ เรือที่ชนะเลิศจะได้รับของรางวัลมากเป็นพิเศษ ส่วนมากของรางวัล เมื่อเรือแต่ละลำได้รับแล้วจะนำไปถวายวัน นอกจากการแข่งขันเรือพายแล้งยังมีการประกวดเทพีนาวา โดยจัดหาคนสวยที่นั่งในเรือแข่งมาประกวด จะประกวดหลังจากแข่งเรือแล้ว หลังงานเสร็จสิ้นลงในเวลาประมาณ 18.00 น . ผู้ชมงาน ชมเรือจะได้นั่งเรือบริการฟรีของชาวประมงประแสร์ซึ่งเสียสละบริการรับส่งให้ชมตลอดงาน มีผู้มาชมงานปีละมาก ๆ ทั้งคนในตำบล ต่างตำบล และต่างจังหวัด  ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ มีวิวัฒนาการ ดังนี้

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์-

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ มีวิวัฒนาการ ดังนี้

  • ในสมัยแรกๆ มีการแข่งขันเรือพาย และการว่ายน้ำแข่งกันเท่านั้น 
  • ในสมัยกลางๆ มีการแข่งขันเรือพาย การแข่งขันว่ายน้ำ การแจวเรือข้ามไม้ไผ่ และ การนั่งกะโล่พายแข่งกัน มวยทะเล แถกกระดี่ ดำน้ำแข่งกัน และนำเอาลิเกไปเล่นในเรือ
  • ในสมัยปัจจุบัน มีการแข่งขันเรือพาย แข่งเรือเร็ว ดำน้ำแข่งกัน การประกวดเรือพาย ประเภทสวยงาม ประกวดเทพีนาวาชักเย่อบนบก มีการจัดแต่งเรือประมง พร้อมผู้แต่งแฟนซีประกวดกัน การประกวดร้องเพลง และมีแมวมองสาว ๆ ที่มาชมงานเป็นเทพี 
ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์-

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ อนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น

ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์  มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการส่งเสริม ฟื้นฟู อนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น ประเพณีแข่งเรือยาวปากน้ำประแสร์ หนึ่งเดียวในไทย ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันดีงามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนในท้องถิ่นได้สืบทอดประเพณีการแข่งขันเรือยาว พร้อมทั้งส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัดระยอง ให้เป็นที่รู้จักโดยกว้างขวางยิ่งขึ้น ถือเป็นประเพณีอันดีงามที่ควรสืบสานและอนุรักษ์ต่อไป

 

 

 

สนับสนุนโดย :

https://ufaball.bet เราคือผู้ให้บริการการพนันอันไร้ขอบเขตของเหล่านักพนันที่ชื่นชอบการเดิมพัน และการเสี่ยงทายในโชคตนเอง เรามีบริการทั้ง แทงบอลออนไลน์ หรือ คาสิโนออนไลน์ ไว้บริการเต็มรูปแบบครบวงใจในที่นี้ที่เดียว

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีอันงดงามของจันทบุรี

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าแก่ของชุมชนโบราณ

ประเพณีชักพระบาท เป็นประเพณีของชาวจันทบุรี ในตำบลตะปอน ซึ่งถือเป็นชุมชนเก่าแก่ของอำเภอขลึง ในอดีตผู้คนแถบนี้ประกอบอาชีพทำนาและประมง ต่อมาก็หันมาปลูกพืชผักผลไม้ แต่ยังคงรักษาสภาพความเป็นอยู่แบบเก่า โดยสังเกตได้จากตัวอาคารบ้านเรือนที่ยังคงรักษารูปแบบโบราณไว้เป็นอย่างดี เมื่อเป็นชุมชนเก่าแก่จึงไม่แปลกที่ตำบลตะปอนจะมีประเพณี วัฒธรรม และการละเล่นแบบโบราณที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าแก่ โดยในช่วงเทศกาลสงกรานต์ชาวบ้านในตำบลตะปอนจะมีการแห่พระบาท มีงานบุญที่ทำร่วมกันที่วัด เมื่อเสร็จงานบุญ ทุกคนก็จะร่วมกันเล่นชักเย่อเกวียนพระบาท 

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าที่มาพร้อมกับความเชื่อ

ประเพณีชักพระบาท ความเชื่อความศรัทธาของชาวบ้าน ตามความเชื่อของคนในสมัยก่อนเชื่อว่า “รอยพระบาท” สามารถขจัดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ที่ระบาดในหมู่บ้านได้ ซึ่งในสมัยนั้นการแพทย์ยังไม่เจริญเท่าที่ควร ปีใดมีโรคระบาดก็จะทำให้มีผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น ชาวบ้านก็จะนำพระบาทจำลองออกแห่ ในการแห่นี้จะม้วนผ้าให้กลมแล้วเอาผ้าห่อข้างนอกอีกหลายชั้นหลังจากนั้นก็นำไปใส่ไว้บนเกวียน พร้อมทั้งประดับเกวียนที่บรรทุกพระบาทจำลองให้สวยงาม และจะมีคนตีกลองนั่งอยู่บนเกวียนนั้นด้วย การแห่พระบาทจะแห่ไปตามที่ต่างๆ ที่สามารถนำเกวียนไปได้ ถ้าบ้านใดมีผู้คนเจ็บป่วยมากก็จะอัญเชิญพระบาทจำลองนี้ขึ้นไปบนบ้าน มีพระสงฆ์ประพรมน้ำมนต์ไปทั่วๆ โรคภัยไข้เจ็บนั้นก็จะหายหรือเบาบางลง ต่อมาเมื่อการแพทย์เริ่มเจริญขึ้น โรคระบาดน้อยลง การแห่พระบาทจำลองก็เปลี่ยนแปลงไป คือเปลี่ยนจากแห่มาเป็นชักกะเย่อแทน จึงถือว่า ประเพณีชักพระบาท มาจากการแห่พระบาทในสมัยก่อน โดย ประเพณีชักพระบาท ถือเอาวันสำคัญหลังสงกรานต์ ประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกปี ในการชักกะเย่อนี้จะให้ชายและหญิงอยู่คนละข้าง โดยผูกเชือกติดอยู่กับเกวียน ขณะที่ทั้งสองฝ่ายออกแรงดึงเชือก คนตีกลองที่อยู่บนเกวียนจะตีกลองรัว จนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งชนะ ฝ่ายชนะถือว่าเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตเพราะสามารถลากพระบาทได้ 

ฝ่ายแพ้ก็จะขอแก้ลำใหม่ เพื่อต้องการชนะบ้าง ถือเป็นเรื่องสนุกสนาน หลังจากวันสงกรานต์ชาวบ้านจะนำรอยพระบาทไปบำเพ็ญตามแยกทางเข้าหมู่บ้านต่างๆ แห่งละ 1-2 วัน นับตั้งแต่หมูบ้านตะปอนน้อยไปจนถึงหมู่บ้านหนองเสม็ด เพื่อเป็นการฉลองรอยพระบาท หลังสวดพุทธมนต์ ประชาชนจะนำเกวียนที่มีรอยพระบาทนั้นมาชักเย่อ เช้าวันรุ่งขึ้นจะมีการทำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ เป็นอันเสร็จพิธี ระยะเวลาที่ชาวบ้านนำรอยพระบาทไปทำพิธีตามสถานที่ต่างๆในตำบลตะปอน ใช้เวลาร่วม 1 เดือน ถือได้ว่ารอยพระบาทจำลองนี้เป็นมิ่งขวัญและสิริมงคลของชาวตบ้านตำบลตะปอน

การเล่นชักเย่อเกวียนพระบาทเป็นการเล่นที่มีอัตลักษณ์เฉพาะ ดังนี้

  • ลักษณะการเล่นที่แข่งชักเย่อตัวเกวียน ซึ่งเป็นยานพาหนะสำคัญที่ใช้ในสมัยโบราณ ไม่พบเห็นในประเทศอื่น ถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของประเทศไทย
  • การบรรทุกผ้าพระบาท ที่มีรอยพระพุทธบาทจำลองของพระพุทธเจ้าไว้บนเกวียน ขณะทำการเล่นเป็นกีฬาที่พัฒนามาจากพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ แฝงด้วยความเชื่อและค่านิยม ที่ส่งเสริมการทำความดีตามหลักพุทธศาสนา มีความหมายและความสำคัญยิ่งค่อวิถีชีวิตของชาวบ้าน
  • การเล่นที่มีการตีกลองเร่งเร้าให้จังหวะประกอบการเล่น สร้างความสนุกสนาน คึกคัก เพิ่มความมีชีวิตชีวาให้ทั้งผู้เล่น และผู้ชม ถือเป็นลักษณะการเล่นที่โดดเด่นเฉพาะท้องถิ่น

ประเพณีชักพระบาท ได้รับอิทธิพลมาจากประเพณีชักพระของทางภาคใต้ เพราะสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดจันทบุรีมีอาณาเขตติดต่อกับทะเล สามารถเดินทางได้ถึงจังหวัดทางภาคใต้ได้ไม่ยากนัก แต่ลักษณะการประกอบพิธีกรรมที่แตกต่างกันน่าจะมาจากสภาพลักษณะภูมิประเทศ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ และวิถีชีวิต สังเกตได้จากทางใต้นั้นมีลักษณะภูมิประเทศที่ติดกับทะเล ประชาชนประกอบอาชีพทำการประมง จึงใช้เรือเพื่อเป็นพาหนะในการเดินทาง การประกอบอาชีพ ตลอดจนการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ส่วนจังหวัดจันทบุรีนั้น พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่ได้ติดกับทะเล ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม ตั้งแต่อดีตมีการนำเกวียนมาบรรทุกพืชผลทางการเกษตร และเป็นพาหนะในการเดินทาง จึงได้นำเกวียนมาใช้ในการประกอบพิธีกรรมด้วย

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีที่เป็นสิริมงคลต่อชาวบ้าน

การแห่พระพุทธบาทและการเล่นชักเย่อเกวียนพระบาท เป็นความเชื่อความศรัทธาของชาวตำบลตะปอนและตำบลใกล้เคียงมาเป็นเวลานับร้อยๆ ปี  ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าแก่ ที่เป็นสิริมงคลแก่ชาวบ้าน หากใครได้จูงหรือชักเย่อเกวียนพระบาทได้ปีละ 3 ครั้ง ก็จะประสบแต่ความสุข ความเจริญ ความโชคดี ไม่มีโรคภัย นอกจากนี้การแห่ผ้าพระบาทตามหมู่บ้านต่างๆ จะไปสิ้นสุดวันสุดท้ายคือ วันที่ 30 เมษายน ที่บ้านป่าคั่น นับว่าเป็นตำบลที่ทำบุญสงกรานต์ยาวนานที่สุดในประเทศ ดังนั้น ประเพณีชักพระบาท ถือเป็นประเพณีที่ชาวตำบลตะปอนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ เป็นประเพณีที่หนึ่งปีมีครั้งเดียว ถือเป็นสิริมงคลต่อชีวิตของชาวบ้านในตำบลเป็นอย่างมาก

 

 

 

 

สนับสนุนโดย :

hilospec.com แค่สมัครสมาชิกกับเว็บไฮโลของเรา แบบไม่ต้องฝาก โปรโมชั่นเติมเงิน โปรโมชั่นถอนเงิน ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ หรือจะเป็นโบนัสเงินรางวัลจากการเล่น ยิ่งเล่นเยอะยิ่งได้เงินเยอะ แถมเรายังมีโปรโมชั่นสำหรับคนที่เชิญเพื่อนยิ่งเชิญเพื่อนเยอะยิ่งได้เงินจากการเล่นเดิมพันเยอะ

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี

ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีอ้อนวอนขอฝน

ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีเก่าแก่ของไทยที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจำ

พิธีแห่นางแมวไม่ใช่พิธีที่ทำกันเป็นประจำทุกปีเหมือนสงกรานต์ หรือสารท อันเป็นพิธีกรรมที่มีวาระกำหนดแน่นอน เกิดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตปกติของคนทั่วไป ประเพณีแห่นางแมว เป็นพิธีที่ทำกันเฉพาะเมื่อยามเกิดความไม่ปกติขึ้นในชีวิตชาวนา คือฝนแล้ง ประเพณีแห่นางแมว จึงสะท้อนพฤติกรรมที่ไม่ปกติของชุมชนชาวนาไทย หลายต่อหลายอย่าง อันไม่อาจถือได้ว่า เป็นแบบแผนความสัมพันธ์ตามปกติของสังคม

ประเพณีแห่นางแมว พิธีเรียกฝนของชาวเกษตรกร

ในสังคมเกษตรกรรมซึ่งนํ้าฝนมีความสำคัญอย่างมากต่อการเริ่มเพาะปลูกพืชพันธุ์ ถ้าปีใดฝนมาช้า พื้นดินแห้งแล้ง ไม่สามารถเพาะปลูกได้ ก็จะเกิดความเดือนร้อนไปทั่ว เกิดความอดอยากยากจน ไม่มีข้าวพืชไร่ไว้เลี้ยงชีพไว้ขาย สำหรับเอาเงินมาใช้จ่ายในเรื่องอื่น ๆ ในสังคมเกษตรกรรมจึงมีพิธีอันเนื่องมาจากความเชื่อที่จะทำลายอำนาจที่ทำให้ฝนแล้ง บันดาลให้ฝนตกลงในเทศกาลดังกล่าว เพื่อที่จะเริ่มชีวิตเกษตรกรรม ในสังคมไทยมีพิธีกรรมเกี่ยวกับความเจริญงอกงามที่ประพฤติเป็นประเพณีสืบต่อกันมา คือ ประเพณีแห่นางแมว การที่ทำพิธีแห่นางแมว เพราะมีความเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่กลัวนํ้าคนโบราณมีความเชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอำนาจลึกลับ และมีความศักดิ์สิทธิ์ มีความสามารถในการเรียกฝนมาได้ และมีความเชื่ออีกว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกเมื่อไหร่ แมวจะร้องทันที และนั่นก็ถือว่าเป็นเคล็ดของคนภาคอีสานที่บอกว่าถ้าแมวร้อง แสดงว่าฝนกำลังจะตก จึงเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเชื่อว่าแมวทำให้ฝนไม่ตก จึงต้องจับแมวมาตระเวนแห่และให้ผู้คนตักนํ้ารดราดแมวจนแมวเปียกหนาวสั่น เพื่อทำลายความเป็นตัวแล้งให้หมดไป การแห่นางแมวของชาวบ้านจะทำในปีที่ฝนมาช้า

สิ่งสำคัญที่ใช้ในประเพณีการแห่นางแมว

  • กะทอหรือเข่งที่มีฝาปิดข้างบน
  • แมว
  • เทียน 5 คู่
  • ดอกไม้ 5 คู่ 
  • ไม้สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 2 ท่อน

พิธีจะเริ่มต้นตั้งแต่บ่ายโมงจนมืดค่ำซึ่ง พิธีการแห่นางแมวนั้นจะต้องใช้คน 15-20คน และทำการคัดเลือกแมวที่เป็นเพศเมียที่มีลักษณะสวยงาม สายพันธุ์สีสวาด เพราะแมวพันธุ์นี้มีสีขนคล้ายสีของเมฆฝน หรือจะใช้แมวดำก็ได้ ต้องใช้แมวจำนวน 1-3 ตัวโดยชาวบ้านจะเอาแมวส่ชะลอมเข่งหรือตะกร้า เอาฝาปิดให้แน่น เอาไม้คานสอดเข้าแล้วหาบไป มีคนแห่แวดล้อมนางแมวคนหนึ่งถือพานนำหน้าร้องเชิญให้ทุกคนมาร่วมพิธีขอฝน นอกนั้นก็มีเครื่องดนตรีประกอบเพลง เช่น กลอง กรับ ฉิ่ง เมื่อเคลื่อนขบวนออกเดิน ต่างก็ร้องบทแห่นางแมว ซึ่งมีข้อความคล้ายกันหรือเพี้ยนแตกต่างกันบ้าง แห่ไปตามละแวกบ้านจนทั่วแล้วก็กลับ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใคร เจ้าบ้านจะเอาภาชนะตักนํ้าสาดลงไปในชะลอมเข่งหรือตะกร้าที่ขังแมว เจ้าของบ้านจะให้รางวัลแก่พวกแห่นางแมว เป็นเหล้า ข้าว ไข่กับขนมหรือเป็นเงินใส่พาน ทำเช่นนี้เรื่อยไป บางคนนึกสนุกก็มาร่วมร้องรำตามขบวนไป จนกว่าจะเย็นคํ่าและเลิกขบวนไปในที่สุด เนื่องจาก ประเพณีแห่นางแมว ทำในช่วงอากาศร้อนสุด ฝนจึงตกลงมาในวันนั้น ทำให้พิธีดูขลังมากขึ้น พิธีแห่นางแมวขอฝน ดูจะเป็นความเชื่อที่ไร้เหตุผล เพราะสภาพความแห้งแล้งนั้นเป็นเพราะสภาพของธรรมชาติที่มีฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว เปลี่ยนหมุนเวียนไปทุก 4 เดือน แต่ ประเพณีแห่นางแมว ทำขึ้นเพื่อความสนุก ในสังคมท่ามกลางธรรมชาติที่แห้งแล้ง การที่ออกมาร่วมขบวนร้องเพลง เล่นดนตรีพื้นบ้านก็ทำให้เกิดความบันเทิงพอที่จะลืมสภาพเดือดร้อน ถ้าฝนไม่ตก นาไร่จะแห้งแล้ง ผู้คนจะอดอยากอาจจะยากจนถึงกับต้องขายลูกหลานสัตว์เลี้ยงไป แต่ถ้าฝนตกสามารถทำนาได้ ชีวิตก็จะมีความสุขสดชื่นไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์พืช มีการฉลองยกใหญ่ 

ปัจจุบัน ประเพณีแห่นางแมวขอฝน มีปรากฏจริงในบางพื้นที่ เพราะปัจจุบันมีการกักเก็บนํ้าไว้ใช้ในการทำนาโดยไม่ต้องพึ่งธรรมชาติ มีการสร้างฝนเทียมขึ้นมาเพื่อไม่ให้เกิดความแห้งแล้ง ในสังคมอุตสาหกรรมและสังคมเกษตรกรรม แม้ ประเพณีแห่นางแมว อยู่คู่คนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ในปัจจุบันพิธีแห่นางแมวขอฝนอาจจะเลือนหายไปจากชีวิตจริง เหลือขบวนแห่นางแมวขอฝนไว้ในขบวนที่เป็นการสาธิตในขบวนแห่ทางด้านวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น สังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิมเลือนหายไป พิธีแห่นางแมวขอฝนก็จะเลือนหายตามไปด้วย

ประเพณีแห่นางแมว พิธีที่สร้างความสมัครสมานสามัคคีแก่คนในชุมชน

ประเพณีแห่นางแมว ไม่เพียงแค่ทำเพื่อขอฝนอย่างเดียว แต่มีจุดประสงค์แฝงคือเพื่อสร้างความสมัครสมานสามัคคีจากคนในชุมชน จากการที่ร่วมกันทำพิธีแม้ว่าพิธีแห่นางแมวไม่ได้รวมทุกคนในหมู่บ้านไว้ในขบวน แต่ชาวบ้านทั้งหมดก็ร่วมอยู่ในพิธี เพราะขบวนแห่นางแมวกดงัลก่าวจะพานางแมวไปทั่วทุกหลังคเรือนของหมู่บ้าน ให้ทุกคนได้เอาน้ำสาดแมวในชะลอม ทำให้ ประเพณีแห่นางแมว สร้างความสมัครสมานสามัคคี ให้แก่คนในชุมชนได้เป็นอย่างดี ไม่เพียงแต่เป็นพิธีเรียกฝนที่หลายคนพูดกันว่าเป็นพิธีที่งมงายแต่อย่างใด

 

 

 

 

สนับสนุนโดย :

 

hilospec.com แค่สมัครสมาชิกกับเว็บไฮโลของเรา แบบไม่ต้องฝาก โปรโมชั่นเติมเงิน โปรโมชั่นถอนเงิน ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ หรือจะเป็นโบนัสเงินรางวัลจากการเล่น ยิ่งเล่นเยอะยิ่งได้เงินเยอะ แถมเรายังมีโปรโมชั่นสำหรับคนที่เชิญเพื่อนยิ่งเชิญเพื่อนเยอะยิ่งได้เงินจากการเล่นเดิมพันเยอะ

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณสำคัญของจังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา งานบุญประเพณีที่สำคัญของจังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา-จังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี เป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดมาอย่างยาวนาน ที่จัดสืบทอดติดต่อกันมากว่า 118 ปี โดยทุกภาคส่วนของจังหวัดจะสนับสนุนให้มีการทำเทียนพรรษาตลอดทั้งเดือนก่อนจะถึงวันเข้าพรรษา ประเพณีแห่เทียนพรรษา แสดงถึงความสามัคคี โดยการทำเทียนพรรษาจะใช้ขี้ผึ้ง ซึ่งในสมัยโบราณนั้นจะนำเทียนเล่มเล็กๆ โดยมีการมัดรวมกันให้เป็นเทียนเล่มใหญ่ และจัดขบวนนำไปถวายวัด การรวมเทียนพรรษาเป็นกลุ่มนี้แสดงถึงความสามัคคีในหมู่คณะนั่นเอง 

ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณีที่มีวิวัฒนาการอย่างไม่หยุดนิ่ง

ประเพณีแห่งเทียนพรรษา นั้น เนื่องจากสมัยก่อนพระภิกษุสงฆ์ไม่มีไฟฟ้าใช้ ชาวบ้านจึงหล่อเทียนต้นใหญ่ขึ้น เพื่อถวายพระภิกษุสงฆ์จุดให้แสงสว่างในการปฏิบัติกิจวัตรต่างๆ เป็นพุทธบูชาตลอดเวลา 3 เดือน การนำเทียนไปถวายชาวบ้านมักจัดขบวนแห่กันอย่างเอิกเกริกสนุกสนานและปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกลายเป็นประเพณี การทำเทียนพรรษามีวิวัฒนาการเรื่อยมาไม่หยุดนิ่ง ในปี พ.ศ. 2511 ผู้คนได้พบเห็น ต้นเทียนพรรษาขนาดใหญ่และสูงขึ้น มีการแกะสลักลวดลายในส่วนลำต้นอย่างวิจิตรพิสดาร ใน ส่วนฐานก็มีการสร้างหุ่นแสดงเรื่องราวทางศาสนา และความเป็นไปในสังคมขณะนั้น กลายเป็น ประติมากรรมเทียนพรรษาที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งช่างผู้ริเริ่มในการทำต้นเทียนยุคหลังคือ นายอุตส่าห์ และ นายสมัย จันทรวิจิตร สองพี่น้อง นับเป็นงานสร้างสรรค์ทางศิลปะอันเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน อย่างแท้จริง 

ประเพณีแห่เทียนพรรษา-จังหวัดอุบลราชธานี

ต่อมาการจัด ประเพณีแห่เทียนพรรษา ในปัจจุบันเริ่มมีการพัฒนาจากในอดีต ประเพณีแห่เทียนพรรษา จัดขึ้นในช่วงวันอาสาฬหบูชา โดยมีการแกะสลักเข้ามาร่วม ซึ่งจะนำขี้ผึ้งมาหล่อเป็นเทียนเล่มใหญ่ จากนั้นช่างฝีมือจะมาแกะสลักเป็นลวดลายสวยงามต่างๆ โดยเฉพาะลวดลายของอีสานดั้งเดิม มีการนำต้นเทียนมาประกอบเป็นขบวนต้นเทียนพรรษา มีขนาด 10-15 เมตร และสูงประมาณ 6 เมตร ใช้รถเทรลเลอร์ในการขนย้าย การตกแต่งต้นเทียน ส่วนใหญ่จะมีภาพประกอบที่ทำด้วยเทียนเหมือนกัน อาจจะเป็นนารายณ์ทรงครุฑ หรืออื่นๆ แต่ละปีจะไม่เหมือนกัน ด้านข้างจะมีเป็นภาพที่แกะสลักด้วยเทียน ซึ่งจะเป็นเรื่องราวของพุทธประวัติ โดย ประเพณีแห่เทียนพรรษา ถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ของอุบลราชธานี เป็นประเพณีที่มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 เป็นงานประเพณีที่รวมความผูกพันของชุมชนท้องถิ่น โดยเริ่มตั้งแต่การที่ชาวบ้านร่วมบริจาคเทียนเอามาหลอม หล่อเป็นเทียนเล่มใหญ่เล่มเดียวกัน เป็นการแสดงออกถึงความสามัคคีกลมเกลียวในหมู่คณะไปในตัว การสรรหาภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่มีฝีมือทางช่าง มีความรู้ ความชำนาญในเรื่อง การทำลวดลายไทย การแกะสลักลวดลายลงบน ต้นเทียน การทำเทียนให้เป็นลายไทย แล้วนำไปติดบนต้นเทียน การประดับด้วยผ้าฝ้าย ผ้าไหม ดอกไม้สด ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของช่างในท้องถิ่น ส่วนการจัดขวนแห่ก็ล้วนแต่ใช้ของพื้นเมือง เช่น 

  • เครื่องแต่งกายของขบวนฟ้อน จะใช้ผ้าพื้นเมืองเป็นหลัก 
  • การฟ้อนรำจะใช้ท่ารำที่ดัดแปลงมาจาก วิถีชีวิต การทำมาหากินของชาวบ้าน เป็นท่ารำในรูปแบบของศิลปะที่งดงาม 
  • ดนตรีประกอบ เป็น เครื่องดนตรีประจำถิ่น ผสมเข้ากับการขับร้องที่สนุกสนานเร้าใจ

เนื่องจากในงานมีการแสดงต่างๆมากมายทำให้งานประเพณีนี้ยิ่งใหญ่ เป็นงานที่ประชาชนต่างเฝ้ารอคอย ศิลปะการฟ้อนรำที่นิยมนำมาประกอบการแสดงในขบวนแห่ คือ การรำเซิ้งต่างๆ เช่น เซิ้งกระลอ เซิ้งกระติบ เซิ้งสวิง เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ซึ่งดัดแปลงมาจากการประกอบอาชีพในวิถีชีวิต ประจำวันทั้งสิ้น โดยก่อนวันงานแห่เทียนพรรษา จะมีการแสดงเทียนพรรษารอบทุ่งศรีเมือง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่คุ้มวัดต่างๆ จะนำเทียนพรรษาที่เข้าร่วมในงานประเพณี มาจัดแสดงไว้ที่บริเวณโดยรอบของทุ่งศรีเมือง โดยเทียนพรรษาที่จัดทำอย่างเสร็จสมบูรณ์จะถูกตกแต่งประดับประดาด้วยดอกไม้และไฟอย่างสวยงาม ทั้งเทียนพรรษาประเภทแกะสลัก ประเภทติดพิมพ์ และเทียนโบราณ ซึ่งเปิดให้นักท่องเที่ยวมาเดินชม โดยจะจัดขึ้นในช่วงเย็นของวันอาสาฬหบูชา เส้นทางในการแห่เทียนพรรษา จะอยู่ที่บริเวณ ทุ่งศรีเมือง ในตัวเมืองอุบลราชธานี โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัด และอำเภอทุกอำเภอจะส่งขบวนเข้ามาร่วมในงาน แต่ละปีประมาณถึง 65 ขบวน แต่ละขบวนจะมีนางรำมีการฟ้อนรำ แสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน ประกอบขบวน อย่างยิ่งใหญ่อลังการ การแห่เทียนจะเริ่มงานตั้งแต่ในช่วงเช้า ประมาณ 8 โมงเช้า ถึงช่วงบ่ายๆ จนหมดขบวนขนวนแห่ ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเข้าชมได้ที่อัฒจันทร์ที่ทางจังหวัดด้จัดไว้ให้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายอีกด้วย

นับว่า ประเพณีแห่เทียนพรรษา เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เป็นประเพณีสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ และความร่วมมือร่วมใจกันของชาวบ้านทั้งจังหวัด อีกทั้งยังเป็นภาพสะท้อนวิถีชีวิตของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างแน่นแฟ้นอีกด้วย

ประเพณีแห่เทียนพรรษา-จังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา  สืบทอดศิลปะวัฒนธรรม

การจัด ประเพณีแห่เทียนพรรษา ที่ทำให้คนวัยรุ่น หนุ่มสาว ได้มีโอกาสได้ใกล้ชิดและสัมผัส กับศิลปวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด นับตั้งแต่การเข้าเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือ เป็นลูกมือช่างของทางวัด ในการแกะสลักทำลวดลายต้นเทียน ค้นคว้าหาวิธีการทำเพียรพรรษาให้วิจิตรพิศดาร งดงาม ในขบวนแห่จะเป็นการผสมผสานระหว่างคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ เช่น การเล่นดนตรีพื้นบ้าน โปงลาง หรือเป่าแคน จะมีทั้งผู้สูงอายุและคนหนุ่มสาว ส่วนขบวนฟ้อนรำ จะใช้เด็กๆ รุ่นเยาว์ ถึงวัยหนุ่มสาวมากกว่าคนสูงวัย ซึ่งคาดหวังได้ว่า ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น จะสืบทอดต่อไปอีกยาวไกล ให้สมกับที่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา เก่าแก่กว่าร้อยปี

 

 

 

 

ไฮโลไทย เกมคาสิโนออนไลน์ ที่ได้รับความนิยมที่สุดในประเทศไทยตอนนี้ หากคุณกำลังมองหาเว็บเกมเดิมพัน ที่มีเกมมากมายให้คุณได้เล่น เว็บเราตอบโจทย์คุณแน่นอน

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี เทศกาล

ไม่ควรพลาด 5 งานประเพณีเมืองชล ตามปฏิทิน

ไม่ควรพลาด 5 งานประเพณีเมืองชล ตามปฏิทิน

ประเพณีก่อพระทรายวันไหล งานประเพณีเมืองชล

เมื่อพูดถึงจังหวัดชลบุรี อีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจเช่นเดียวกันคือ งานประเพณีเมืองชล ซึ่งปัจจุบันสามารถยกระดับให้เป็น การท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี อีกรูปแบบหนึ่ง และหลายประเพณีประจำท้องถิ่นของเมืองชล กลายเป็นเทศกาลท่องเที่ยวชลบุรี ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกสารทิศอีกด้วย ซึ่งเรียกว่าทำให้จังหวัดนี้มีแหล่งท่องเที่ยวที่แตกต่างและหลากหลายรูปแบบในตัว นอกจากนั้นแต่ละเทศกาลต้องบอกว่าไม่ควรพลาดจริง ๆ 

เที่ยว งานประเพณีเมืองชล สืบสาน และเรียนรู้วัฒนธรรม

ถ้าพูดถึง การท่องเที่ยวงานประเพณีชลบุรี เชื่อว่าหลายคนยังไม่รู้ว่า ชลบุรีมีประเพณีน่าเที่ยวเช่นกัน ซึ่งแต่ละประเพณีต่างสร้างความน่าสนใจให้กับนักท่องเที่ยวมาโดยตลอดส่งผลให้กลายเป็น เทศกาลท่องเที่ยวชลบุรี ที่ทำให้นักท่องเที่ยวประทับใจอย่างมาก และตั้งเป้ากลับมาเยี่ยมเยียนจังหวัดชลบุรีทุกเทศกาลหรือประเพณีทันที เนื่องจากประเพณีแต่ละอย่างเป็นการสานต่อวัฒนธรรมดั้งเดิมของจังหวัดให้คงอยู่ต่อไประยะยาว

งานประเพณีเมืองชล

ประเพณีงดงามมาพร้อมกับการท่องเที่ยว

ที่นี่มาว่ากันต่อถึงประเพณีต่าง ๆ ของจังหวัดชลบุรี ซึ่งค่อย ๆ พัฒนาจนกลายเป็นมาเป็นงานประเพณีประจำปีเมืองชล พร้อมกับยกระดับให้กลายเป็น การท่องเที่ยวงานประเพณีชลบุรี ที่น่าตื่นตาตื่นใจและสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวต่อเนื่อง โดยงานประเพณีตามปฏิทินที่ต้องมาเที่ยวที่นี่คือ 

  • ประเพณีวิ่งควาย จะจัดขึ้นในเดือนตุลาคมของทุกปี ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมที่หลายคนไม่ควรพลาดเลย
  • ประเพณีก่อพระทรายวันไหล ซึ่งจะมีในทุกเทศกาลสงกรานต์ของทุกปีในอำเภอบางแสน 
  • งานบุญกลางบ้านและเครื่องจักสานพนัสนิคม จะจัดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายนของทุกปี 
  • ประเพณีกองข้าวศรีราชา จะจัดในวันที่ 19-21 เมษายน ของทุกปีของอำเภอศรีราชา
  • พัทยามาราธอน อีกหนึ่งไฮไลท์ที่น่าสนใจของพัทยา ซึ่งถือว่าเป็นเทศกาลที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด 
งานประเพณีเมืองชล

1 ปี มีครั้งกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ทั้งนี้ความน่าสนใจของ งานประเพณีเมืองชล คือ 1 ปี มีครั้ง ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่ประเพณีดังกล่าวจะสามารถยกระดับ การท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี ให้น่าสนจากยิ่งขึ้น จนกลายเป็นอีกหนึ่งการท่องเที่ยวตามปฏิทินที่นักท่องเที่ยวหลายคนรอคอย 

สรุป 

ถ้าพูดถึง งานประเพณีเมืองชล ในปัจจุบันถือว่ามีแนวโน้มไปได้สวย หลังจากหลายประเพณีสามารถพัฒนาให้แต่ละเทศกาลเป็นช่วงเวลาของ การท่องเที่ยวงานประเพณีชลบุรี ให้น่าสนใจมากขึ้น พร้อมทั้งสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวงาน เทศกาลท่องเที่ยวชลบุรี ตามปฏิทินได้ไม่ยาก  ส่งผลให้ปัจจุบันการเดินทางมายังชลบุรีเพื่อท่องเที่ยวความสวยงามของทะเล และแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ แล้ว งานประเพณีต่าง ๆ ที่จัดงานทุกปีเป็น การท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี อีกหนึ่งรูปแบบที่ไม่ควรพลาด และควรได้มาสัมผัสความสนุกด้วยตัวเองให้ได้ 

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

https://hilospec.com เว็บคาสิโนออนไลน์อันดับ1 ที่ได้เปิดให้บริการมาอย่างยาวนาน โดยทางเราเป็นเว็บตรงฝากถอนไม่มีขั้นต่ำที่ยิ่งกว่าเว็บทั่วไป มาพร้อมเกมเดิมพันมากมายแบบไม่อั้นแน่นอน

Categories
ข้อมูล ประเพณี เทศกาล

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของบรรพบุรุษ ส่งตรงสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน

วัฒนธรรมภาคตะวันออก กิจกรรมอันดีงามของคนรุ่นหลัง

วัฒนธรรมภาคตะวันออก

ในแต่ละสถานที่นั้นย่อมประเพณีเป็นของตัวเองที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน หรือเรียกว่าเป็นเอกลักษณ์ที่มีความสำคัญต่อสังคมเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นประเพณีได้การแต่งกาย ภาษา รวมไปถึง วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่คนไทยนั้น จะมีความเชื่อที่สืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย จนมาถึงรุ่นหลาน อาจจะมีปรับเปลี่ยนกันบ้างตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไปแต่ก็ไม่ได้หายไป เนื่องจากประเทศไทยมีความเชื่อตามศาสนาที่มีอิทธิพลสูงมากที่สุด ดังนั้นจึงจะเห็นว่าคนไทยมีให้ความสำคัญกับการบำรุงรักษาประเพณีตั้งแต่โบราณมา วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทั้ง 7 จังหวัด ซึ่งทุกท่านคงจะทราบกันดีว่าภาคตะวันออก ก็เป็นอีกหนึ่งภาค ที่ประกอบไปด้วยจังหวัดท่องเที่ยวมากมาย และ วัฒนธรรมภาคตะวันออก  ยังมีความเชื่อของคนในท้องที่ ที่มีการนับถือกันมาอย่างยาวนานเป็นระเบียบแผนที่ปฏิบัติในแต่ละท้องถิ่น

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทำความรู้จักเกี่ยวกับ ประเพณีเก่าแก่

ในจังหวัดทางภาคตะวันออกนั้นมี ทั้งหมด 7 จังหวัดด้วยกัน ซึ่งตามประเพณีและความเชื่อเหล่านั้นส่วนใหญ่ จะสะท้อนให้นักท่องเที่ยวเห็นถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามต่างๆ มากมาย โดยประเพณีส่วนใหญ่จะจัดทำขึ้นช่วงเทศกาลสงกรานต์ วันไหล 

  • จังหวัดจันทบุรีนั้นทุกท่านคงจะทราบกันดีว่ามี ประเพณีงานชักพระบาท ของชาวบ้านหมู่บ้านตะปอน ซึ่งจะถูกจัดขึ้นหลังวันสงกรานต์ ประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกปี เป็นการเล่นชักเย่อระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย โดยจะมีเชือกผูกติดกับเวียน และมีคนคอยตีกลองอยู่บนเกรียน ถือว่าเป็นตัวแทนของพาหนะที่จะนำพระบาทไปทำพิธีอันศักดิ์สิทธิ์ คนตีกลองจะตีไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะ และฝ่ายชนะถือว่าฝ่ายที่มีสิริมงคล เพราะสามารถลากพระบาทขึ้นไปได้ทำกิจกรรมทางศาสนาได้
  • จังหวัดฉะเชิงเทราก็ถือว่ามีประเพณีที่ทุกท่านคงจะรู้จักกันเป็นดี คืองานขึ้นเขาเผาข้าวหลาม ซึ่งที่มาของประเพณีนี้คือสืบทอดมาจากชาวลาว ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมาอยู่ในประเทศไทย ตั้งแต่สมัย ต้นรัตนโกสินทร์ โดยในขณะนั้นทุกคนจะเรียกว่าชาวลาวเวียง เป็นการทำบุญถวายเข้าหลามให้กับพระสงฆ์ที่อยู่ในอำเภอพนมสารคาม ซึ่งงานประเพณีนี้จะถูกจัดขึ้นในทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม ขึ้น 15 ค่ำ เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับประเพณีเก็บเกี่ยวข้าวด้วย จะทำเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชาวบ้าน ที่มีอาชีพทำนาทำไร่ ถือเป็น วัฒนธรรมภาคตะวันออก อันเก่าแก่ ที่สืบทอดกันมาชั่วอายุคน จนถึงในปัจจุบัน
  • วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทั้ง 7 จังหวัด  ซึ่งประเพณีจังหวัดชลบุรีอีกหนึ่งจังหวัด ที่ถือว่าเป็นสถานที่อันโด่งดังของภาคตะวันออก ประเพณีที่นิยมทำกันเป็นอย่างมาก และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ก็คืองานกองข้าว เป็นงานที่จัดทำขึ้นมาช่วงเดือนเมษาหลังสงกรานต์ของทุกปี ประมาณ 19 – 21 เมษายน วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน เป็นการบวงสรวงสังเวยผี เพื่อให้ดูแลรักษา และไม่ให้มาทำลายตนเอง คนในครอบครัว รวมถึงสิ่งของในอนาคต และมีการออกบูธมาจำหน่ายขนมพื้นเมือง หรืออาหารพื้นเมือง ภายในงานนั้นนักท่องเที่ยวจะแต่งตัวเป็นชุดไทยมาจับจ่ายซื้อของพื้นบ้าน
  • ประเพณีของจังหวัดตาก รู้กันเป็นอย่างดีว่าจังหวัดตาก อยู่ริมทะเล และในอดีตมีการจัดทำสงครามทางทหารเรือ ซึ่งงานนี้ก็คือเป็นงานที่จัดทำขึ้นเพื่อสรรเสริญทหารไทยในยุทธนาวิถี ที่การจัดทำขึ้นในเกาะช้าง เพื่อรำลึกถึงเกียรติคุณของทหารไทย ที่เสียชีวิตจากการสู้รบระหว่างกองทัพเรือฝรั่งเศส และที่สำคัญเพื่อมีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของทหารเรืออีกด้วย ประเพณีวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวิถีที่เกาะช้าง ก็จะมีการออกบูธ มีนิทรรศการของทางราชการมาจัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้ของนักท่องเที่ยวอีกด้วย
  • ประเพณีจังหวัดระยองอีกหนึ่งอย่างที่มีอายุการสืบทอดกันมายาวนานนับ 100 ปี ก็คืองานทอดผ้าป่ากลางน้ำ โดยชาวบ้านนั้นจะนำพุ่มผ้าป่าไปป่าไว้กลางแม่น้ำประแส และยังตกแต่งให้สวยงาม จากนั้นจะนิยมพระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม และความเชื่อของชาวพระพุทธศาสนา ชาวบ้านก็จะพายเรือแจวเรือเข้ามาร่วมพิธีการกลางน้ำ หลังจากเสร็จพิธีการแข่งขัน ชาวบ้านก็จะจัดเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการแข่งเรือพาย การชกมวยทะเล หรือจะเป็นการแข่งพายกะโล่ เป็นต้น     

วัฒนธรรมภาคตะวันออก  ถือว่าเป็นประเพณีของภาคที่มีความหลากหลาย และมีความสนใจไม่น้อยไปกว่าจังหวัดอื่นของประเทศไทย เพราะเป็นสถานที่ที่เต็มไปด้วยเสน่ห์ อารยธรรม มนต์ขลังมากมาย ส่วนใหญ่จะสัมผัสถึงวัฒนธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เนื่องจากคนในท้องที่ มีความเชื่อและมีความศรัทธากันเป็นจำนวนมาก เป็นประเพณีเป็นที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษยาวนาน แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิต และวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่นของแต่ละจังหวัด วัฒนธรรมภาคตะวันออก อันเก่าแก่ ซึ่งแน่นอนว่านอกจากทุกท่านจะได้ความรู้ในการมาร่วมทำประเพณี และสืบทอดแล้วนั้น ยังได้รับความสนุกสนานจากการร่วมทำกิจกรรมในประเพณีด้วย เนื่องจากส่วนใหญ่นั้นก็ยังมีการละเล่นให้ผู้คนที่สนใจสามารถร่วมทำกิจกรรมได้ และตามความเชื่อของประเพณีนั้นอาจจะยึดมั่นกันเลยว่าปีใดที่ไม่ทำกิจกรรมนี้อาจจะส่งผลเสียต่อชีวิต เรียกว่าเป็นการทำเพื่อสิริมงคลของชาวบ้านละแวกนั้นก็เป็นได้ กิจกรรมประเพณีของจังหวัดทางภาคตะวันออกของไทยไม่ได้โด่งดังและจากกันแค่ชาวไทยเท่านั้น เพราะชาวต่างชาติก็นิยมมาร่วมเข้าทำกิจกรรม เพื่อรับประสบการณ์ใหม่ๆ และมาพบปะสังสรรค์หาความสนุกกันนั่นเอง

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

GCLUB จีคลับ เว็บไซต์พนันออนไลน์ บริการคาสิโนออนไลน์ 24 ชั่วโมง ด้วยระบบที่เป็นมาตรฐานระดับสากลออกแบบมาให้ใช้งานง่าย และรวดเร็ว ไว้คอยให้บริการท่าน

Categories
ข้อมูล ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว เทศกาล

ประเพณีของสระแก้ว รวมประเพณีของจังหวัดสระแก้ว ทางภาคตะวันออก

ประเพณีของสระแก้ว ที่เที่ยวน่าไป ประเพณีน่าตื่นตาตื่นใจ แถมอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพอีกด้วย 

ประเพณีของสระแก้ว

ชายแดนเบื้องบูรพา ป่างาม น้ำตกสวย มากด้วยอารยธรรมโบราณ ย่านการค้าไทย-เขมร ซึ่งเป็นคำขวัญประจำจังหวัดสระแก้ว ประเพณีของสระแก้ว แน่นอนว่าเราต้องพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับจังหวัดสระแก้วของเรากัน จังหวัดที่อยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย จังหวัดสระแก้วของเรานั้นถือว่าเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด ประเพณีของสระแก้ว ประเพณีหลากหลาย สภาพทั่วไปเป็นพื้นที่ราบถึงพื้นที่ราบสูง มีภูเขาสลับซับซ้อน ทิศเหนือติดกับทิวเขาบรรทัด ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำบางปะกงอีกด้วย 

ประเพณีของสระแก้ว เดินทางสะดวก พื้นที่กว้างใหญ่ มาแล้วต้องติดใจ ใครๆ ก็ต้องชอบ

จังหวัดสระแก้วถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ใกล้กับกรุงเทพมหานคร โดยอยู่ไม่ห่างจากกรุงเทพฯ เพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น สามารถมาเที่ยวได้ในวันหยุดสุดสัปดาห์ ประเพณีของสระแก้ว ใครๆ ก็ชอบ  ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางกับรถโดยสารมินิบัส มินิแวน หรือจะขับรถยนต์ส่วนตัวก็ได้เช่นกัน จังหวัดของเราไม่ได้มีดีแค่แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามเท่านั้น ประเพณีของสระแก้ว เพราะประเพณีต่างๆ ของเราก็น่าสนใจไม่แพ้กัน และสำหรับวันนี้เรามีประเพณีที่น่าตื่นตาตื่น บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่เป็นความภาคภูมิใจของคนในจังหวัดระยองเลยก็ว่าได้ 

งานวันแคนตาลูป
  • เริ่มต้นกันที่ผลไม้ขึ้นชื่อจังหวัดสระแก้วของเรากันก่อนเลย นั่นก็คือ งานวันแคนตาลูป ซึ่งมีการจัดที่บริเวณหน้าที่ว่าการอำเภออรัญประเทศ ช่วงราวๆ เดือนเมษายน เป็นประจำทุกปี เพราะเป็นช่วงที่ผลผลิตของแคนตาลูปนั่นเริ่มมีการกระจายออกสู่ตลาด ประเพณีของสระแก้ว แคนตาลูปอร่อย ในงานมีขบวนแห่รถแคนตาลูป การประกวดแคนตาลูป และผลิตผลทางการเกษตร นิทรรศการของหน่วยงานต่างๆ การประกวดธิดาแคนตาลูป เพื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตของเกษตรกรนั่นก็คือ แคนตาลูป ของจังหวัดสระแก้ว ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมอาชีพเกษตรอีกด้วย อีกทั้งการลดปัญหาสินค้าทางการเกษตรล้นตลาด และมีราคาตกต่ำ รวมไปถึงการขยายช่องทางการตลาดของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมท้องถิ่น ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
ประเพณีดอกแก้วบานเบื้องบูรพา
  • ประเพณีดอกแก้วบานเบื้องบูรพา ดอกแก้วถือว่าเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดสระแก้วของเรา เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ สีเขียวเข้ม เปลือกต้นสีขาวเทา ช่อดอกสั้น ออกตามง่ามใบ ดอกสีขาว แถมยังมีที่กลิ่นหอมอีกด้วย เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อบูชาหลวงพ่อทอง และงานกาชาด ประเพณีของสระแก้ว พื้นที่กว้างขวาง ซึ่งจะจัดประมาณช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปีกิจกรรมภายในงานนั้นจะประกอบไปด้วย  ขบวนแห่สืบสานประเพณีไทยของดีเมืองสระแก้ว ชมการประกวดร้องเพลง นิทรรศการแสดงผลงานของส่วนราชการ ชมการแสดง มหรสพ ขบวนแห่ศิลปวัฒนธรรม การจัดนิทรรศการ และการออกร้านแสดงสินค้าบริเวณที่สามแยกสระแก้ว
งานเทศกาลดูผีเสื้อปางสีดา ณ อุทยานแห่งชาติปางสีดา
  • งานเทศกาลดูผีเสื้อปางสีดา ณ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดสระแก้ว รวมทั้งเพื่อเป็นการกระจายรายได้ให้กับชุมชนและท้องถิ่น ตลอดจนเป็นการสร้างภาพลักษณ์ “เมืองผีเสื้อของพื้นป่าภาคตะวันออก ซึ่งภายในงานนั่นมีกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ขึ้นชื่อเป็นอย่างดี นั่นก็คือ การดูผีเสื้อปีกสวยแห่งผืนป่าตะวันออกนานาชนิด หลากสีสัน บินอวดโฉมไปมาทั่วอุทยานฯ เป็นภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจให้แก่เหล่านักท่องเที่ยวทุกท่านเป็นอย่างมาก มีกิจกรรมที่น่าสนใจมากมาย อย่างเช่น การประกวดหุ่นผีเสื้อ และขบวนแห่หุ่นผีเสื้อ กิจกรรมทำโป่งเทียมให้ผีเสื้อ เรียนรู้ร่วมกันกับกิจกรรมดูผีเสื้อ ชมแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดสระแก้ว การเดินป่าท่องไพรศึกษาธรรมชาติ สัมผัสความมหัศจรรย์ธรรมชาติที่สวยงามของผืนป่าตะวันออก และชมนิทรรศการภาพถ่ายผีเสื้อ พร้อมแนะนำการถ่ายภาพผีเสื้อ และเทคนิคการดูผีเสื้อจากเจ้าหน้าที่อุทยานฯ มาเที่ยวเทศกาลนี้บอกเลยนักท่องเที่ยวทุกท่านจะได้เก็บภาพความสวยงาม ความประทับใจของราชินีแห่งแมลงปีกสวยสีสันงามตา ที่มีมากกว่า 400 ชนิดเลยทีเดียว ประเพณีของสระแก้ว ใครๆ ก็ชอบ อีกทั้งภายในเขตพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติปางสีดานั้น ยังมีทั้งแคมปิ้ง นอนเต็นท์ เล่นน้ำตกปางสีดา มีการแข่งขันจักรยานเสือภูเขา พิชิตจุดชมวิวปางสีดาระยะทางกว่า 29 กิโลเมตร เพื่อบันทึกภาพแห่งความทรงจำ ณ จุดชมวิวและการประกวดภาพถ่ายผีเสื้ออีกด้วย ใครที่มาเที่ยวจังหวัดสระแก้วต้องอย่างลืมแวะเทศกาลนี้ 
งานสืบสานวัฒนธรรมเบื้องบูรพาและงานกาชาดจังหวัดสระแก้ว
  • งานสืบสานวัฒนธรรมเบื้องบูรพาและงานกาชาดจังหวัดสระแก้ว เป็นงานสืบสานงานประเพณีพื้นถิ่น ดินแดนเบื้องบูรพาแหล่งอารยธรรมและประวัติศาสตร์ขอมโบราณ และสานสัมพันธ์ประตูสู่อินโดจีน ประเพณีของสระแก้ว แคนตาลูปอร่อย เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว พร้อมกับเผยแพร่ประวัติศาสตร์เมือง อนุรักษ์วัฒนธรรมขนบประเพณีอันดีงาม และส่งเสริมการประกอบอาชีพกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นอีกด้วย อีกทั้งรวมกันนำรายได้จากการจัดงานนั้นสมทบเข้ากองทุนเพื่อการกุศลของเหล่ากาชาด จังหวัดสระแก้ว

 จังหวัดสระแก้วของเรานั้นถือว่าเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย  แถมยังมีพื้นที่มากที่สุดอีกด้วย ประเพณีของสระแก้ว ประเพณีหลากหลาย จังหวัดของเราไม่ได้มีดีแค่แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามเท่านั้น ประเพณีของสระแก้ว เพราะประเพณีต่างๆ ของเราก็น่าสนใจไม่แพ้กัน 

 

 

 

สนับสนุนโดย :

สมัครบาคาร่า ที่เว็บคาสิโน888 เราเป็นเว็บคาสิโนที่สมัครง่ายที่สุด เกมคาสิโน สล็อต บาคาร่าเล่นง่าย ได้เงินจริง และยังสามารถดาวน์โหลดเอาไว้เล่นบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนได้