ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก เอกลักษณ์ของแต่ละจังหวัด

ในภูมิภาคตะวันออกของประเทศไทยนั้น มีมากมายหลากหลายจังหวัด ซึ่งแน่นอนว่าอาจจะมีความแตกต่างกันไป ทั้งชุมชน รวมไปถึงลักษณะในการดำรงชีวิต แต่ทุกจังหวัดล้วนแต่มีเอกลักษณ์ที่แสดงให้เห็นถึงประเพณีที่สวยงาม และเป็นประเพณีที่รักษาไว้เป็นวัฒนธรรมประจำชาติได้อีกด้วย นอกจากนี้ ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก ยังหมายถึงระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติกำหนดพฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆ ของแต่ละประเพณีได้อีกด้วย โดยในจังหวัดทางภาคตะวันออกของประเทศไทยนั้นมีถึง 7 จังหวัด ซึ่งแน่นอนว่าวัฒนธรรมนอกจากจะช่วยสืบสารให้สืบต่อไปถึงเยาวชนรุ่นหลัง แล้วยังสามารถช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มารู้จักกับประเพณีของเราได้อีกด้วย โดย ประเพณีที่สวยงาม เอกลักษณ์ของวัฒนธรรม ส่วนใหญ่นั้นมักมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อในพระพุทธศาสนามาแต่โบราณ เพราะเป็นศาสนาหลักของคนไทย

ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก บ่อเกิดของวัฒนธรรมสังคม

คนในท้องถิ่นของจังหวัดทางภาคตะวันออกมีการสร้างประเพณี และวัฒนธรรมที่มีมาอย่างช้านาน ซึ่งแน่นอนว่ามันไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ส่วนใหญ่นั้นจะนิยมทำกันภายในสังคมที่อยู่นั้นๆ และหากใครทำผิด ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก ก็จะนับว่าเป็นบุคคลที่ผิดจารีตกันเลยทีเดียว ประเพณีส่วนใหญ่ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดีงาม และเป็นวิถีแห่งการดำเนินชีวิตในสังคม โดยศาสนานั้นจะมีอิทธิพลต่อประเพณีของคนไทย รวมไปถึงชาวภาคตะวันออกมากที่สุด มีมากมายหลากหลายอย่างเข้ามาผสมผสานให้เกิด  ประเพณีที่สวยงาม เอกลักษณ์ของวัฒนธรรม สะท้อนให้เห็นถึงความเจริญ และการให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมของคนในชุมชนนั้นๆ

ตัวอย่าง ประเพณีที่สวยงาม อนุรักษ์ให้อยู่สืบไป

ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก
  • ประเพณีวิ่งควายของจังหวัดชลบุรี ที่ไม่มีที่ไหนในโลก มีแค่ที่จังหวัดชลเพียงที่เดียว ประเพณีที่สวยงาม เอกลักษณ์ของวัฒนธรรม  สืบทอดมาอย่างช้านานเช่นกัน เพราะชาวบ้านในสมัยก่อนมีความเชื่อว่า หากปีใดไม่มีการวิ่งควาย หรือทำขวัญควาย จะทำให้ควายของชาวบ้านนั้นเกิดความเจ็บป่วย และล้มตาย จะทำให้เกิดผลกระทบของการทำนาทำไร่ของเกษตรกรในยุคนั้นนั่นเอง และที่สำคัญการวิ่งควายนั้นก็ถือว่ามีการพัฒนาให้มีการประกวดควายในปัจจุบัน รวมไปถึงการจัดงานต่างๆ ให้ประชาชนในพื้นที่มาร่วมสนุกสนานกันได้ด้วย
  • งานแห่บั้งไฟของ อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ประเพณีเป็นของชาวลาวพวนที่อพยพมาอยู่ในประเทศไทยปลายรัชกาลที่ 3 ได้ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและรุ่นหลาน เป็นการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ อายุ 1,000 ปี  ในช่วงที่มีการไถ – หว่านนาข้าว และจะเป็นการขอฟ้าขอฝน ให้นาข้าวมีความอุดมสมบูรณ์อีกด้วย โดยการแห่บ้างไฟนั้นจะเป็นเพณีท้องถิ่น 1 ปีมี 2 ครั้ง คือ กลางเดือน 5 และบุญเดือน 6 เป็นงานท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ พร้อมมีมหรสพสมโภช รวมไปถึงหนังกลางแปลงในอดีต ลิเกมีชาวบ้านมานำสินค้าขายด้วย ก่อนการเริ่มจุดบั้งไฟจะมีการแห่ขบวนเกวียน  และจะมีการร่ายรำซึ่งขอฟ้าฝนนั่นเอง ชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่ในอำเภอนี้ สืบเชื้อสายของชาวลาวพวน จะเป็นการอนุรักษ์สืบทอดให้มี ประเพณีที่สวยงาม อารยธรรมอันดีหลากหลาย นี้ให้อยู่ต่อไปสู่คนรุ่นหลัง
  • งานประเพณีการแข่งเรือยาว เป็นงานที่จัดมาเป็นประจำหลายปีบริเวณแม่น้ำบางปะกง หรือที่เรียกกันว่าแม่น้ำปราจีนบุรี เป็นกิจกรรมที่จะแสดงถึงความสามัคคีของคนในทีม หากทีมไหนเป็นผู้ชนะจะได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารรี โดยงานประเพณีการแข่งเรือยาวจะจัดในช่วงเดือนกันยา หรือตุลาคมของทุกปี แล้วแต่ว่าระดับความสูงของน้ำ
ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก
  • งานเทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีน เป็นงานที่จัดขึ้น ณ วัดสระมรกตเป็นเวลา 3 วัน ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชาของทุกปี กิจกรรมจะมีการเข้าค่ายพุทธศาสนา ปลุกจิตสำนึกต่อพระพุทธทาสศาสนา ส่วนใหญ่จะมีนักเรียนนักศึกษามัธยมขึ้นไป มาร่วมกิจกรรมและ ยังมีการเวียนเทียนรอบรอยพระพุทธบาทคู่ภายในวัดอีกด้วย ประเพณีที่สวยงาม เอกลักษณ์ของวัฒนธรรม นับว่าเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่อยู่คู่เมืองปราจีนบุรีมากกว่า 30 ปี ทั้งนี้ยังมีการสักการะพระบรมมาสารีริกธาตุ มีการจำหน่ายสินค้าชุมชนในพื้นที่ รวมไปถึงสินค้าโอทอปด้วย

ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออกในประเทศไทย ถือว่ามีประโยชน์ที่อยู่คู่กับมนุษย์มาอย่างยาวนาน แล้วทำให้คนในประเทศนั้นมีความสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยังเป็นสิ่งที่จะใช้เป็นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมของคนในชุมชนได้อีกด้วย และภายในหลายประเพณีก็จะมีการจัดทำงานขายสินค้า แสดงนิทรรศการต่างๆ ซึ่งนับว่าเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้มีเงินสะพัดเข้ามาในจังหวัด และช่วยสร้างเสริมรายได้ให้แก่ชาวบ้านในชุมชนได้อีกด้วย เรียกว่ามีประโยชน์มากมายทั้งโดยตรงและทางอ้อม ประเพณีที่สวยงาม อนุรักษ์ให้อยู่สืบไป นับว่าเป็นสิ่งที่แสดงถึงเกียรติและความภูมิใจของคนในท้องถิ่นทำ ให้เกิดความหวงแหนและการเห็นถึงคุณค่าในวัฒนธรรมต่างๆ

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีเรียกขวัญข้าว ประเพณีสำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี

สนับสนุนโดย : https://hilospec.com/ ไฮโลไทย ฝาก-ถอน ไม่มีขั้นต่ำ แทงไฮโลพื้นบ้าน เบทเริ่มต้น 5 บาท