กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงาม วัฒนธรรมพื้นบ้าน

วัฒนธรรมพื้นบ้านในแต่ละภาคของประเทศไทยนั้นจะมีลักษณะที่ไม่เหมือนกัน เพราะรูปแบบการดำรงชีวิต รวมไปถึงความเชื่อศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมไปถึงอาชีพต่างๆ ก็จะมีความแตกต่างกันไป ดังนั้นเอกลักษณ์แต่ละพื้นที่ ซึ่งมีความหลากหลายสภาพแวดล้อม ก็มีส่วนที่จะเป็นเหตุผลต่อการจัดทำ กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงาม ของแต่ละพื้นที่ขึ้นมา ซึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทยนั้นมีถึง 7 จังหวัด ที่ได้จำแนกแตกไปตามความเชื่อระเบียบแบบแผนของการปฏิบัติของคนในแต่ละสถานการณ์ต่างๆ ของในชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่ กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก เอกลักษณ์ของจังหวัด จะถูกยึดก็เป็นสิ่งที่ดี เป็นสิ่งที่ถูกต้อง จึงได้มีการปฏิบัติต่อยอดกันมาเป็นเวลาที่นมนาน

 กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงาม ส่งเสริมค่านิยมของบุคคลในชุมชน

ภาคตะวันออกของประเทศไทย มีภูมิอากาศและลักษณะของพื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ลุ่มแม่น้ำ ได้รับใช้การสะสมประสานของวัฒนธรรมหลากหลายพื้นที่ทั้งวัฒนธรรมไทย เขมร ลาว รวมไปถึงวัฒนธรรมของ จีนซึ่งแน่นอนว่าเกิดมาจากการอพยพมาจากอดีตตั้งแต่ละสมัยรัชกาลต้นๆ ของรัตนโกสินทร์ แน่นอนว่าการมีวัฒนธรรมที่มีความแตกต่าง กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงาม จะช่วยส่งเสริมเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ได้ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น

กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงาม
  • จังหวัดระยอง จะมีงานทอดผ้าป่ากลางน้ำ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีมากกว่าอายุ 100 ปี ชาวบ้านจะนำพุ่มผ้าป่า มาประดับที่กลางแม่น้ำประแสร์ จากนั้นนิมนต์พระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ส่วนประชาชนที่ร่วมพิธีก็ต้องพายเรือเข้าไปร่วมพิธีกลางลำน้ำ ซึ่งประเพณีนั้นมาจากกิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก อิทธิพลจากศาสนาพุทธ
กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงาม
  • จังหวัดสระแก้ว จะมีงานบวงสรวงศาลหลักเมือง และมีพิธีการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ จะเป็นการจัดงานขึ้นเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี นอกจากจะมีกิจกรรมประจำจังหวัดแล้ว ยังมีการจัดทำออกร้านอาหาร นับว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอย่างนึงได้อีกด้วย ดึงดูดทั้งคนในจังหวัดรวมถึงคนต่างชาติ คนในประเทศมาร่วมสืบต่อ
  • จังหวัดตราดจะมีงานวันวีรกรรมทหารไทยในยุทธวิธีที่เกาะช้าง จะจัดทำขึ้นในช่วงของเดือนมกราคม บริเวณสถานยุทธนาวิธีที่เกาะช้าง ฝั่งแหลมงอบจังหวัดตราด เป็นการรำลึกถึงเกียรติคุณของทหารเรือที่เสียชีวิตจากการสู้รบระหว่างกองทัพเรือไทย กับกองทัพเรือฝรั่งเศส สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งจะมีการอุทิศส่วนบุญส่วนกุศล และลอยมาลาสักการะดวงวิญญาณของทหารเรือที่เสียชีวิตไปด้วย ในการจัดทำงานวันวีรกรรมมีการจัดทำนิทรรศการ รวมไปถึงการออกบูธ จัดร้าน กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ดึงดูดนักท่องเที่ยว เรียกง่ายๆ ว่าเป็นงานประจำจังหวัดอีกหนึ่งอย่างเลยก็ว่าได้
  • ประเพณีวิ่งควาย ที่เป็นประเพณีนี่หนึ่งเดียวในโลก ของจังหวัดชลบุรี ซึ่งสันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยากันเลยทีเดียว เป็นการจัดทำเพื่อทำขวัญควาย ถ้าปีไหนที่ไม่มีการวิ่งควาย ชาวบ้านเชื่อว่าจะเกิดโรคระบาดต่างๆ มากมาย ซึ่งจะทำให้เกิดผลเสียต่อชาวนา และอาชีพเกษตรกรไทยนั่นเอง การจัดทำพิธีวิ่งควายชาวบ้านจะจัดขึ้นวันที่ 15 ค่ำเดือน 11 ของทุกปี ซึ่งจะเป็น 1 วันก่อนวันออกพรรษา ในการจัดทำประเพณีวิ่งควายนั้นจะมีการประกวดสุขภาพควาย พ่อพันธุ์แม่พันธุ์ รวมไปถึงการตกแต่งควายให้มีความสวยงาม และที่สำคัญยังมีการจัดทำจำหน่ายสินค้า O-TOP อาหารพื้นเมืองของจังหวัดชลบุรีไว้อีกด้วย นับว่าเป็นกิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ดึงดูดนักท่องเที่ยว ที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัด นำเอารายได้เข้าสู่ประชาชนในพื้นที่ได้อีกด้วย
  • ประเพณีงานบุญกลางบ้าน ของอำเภอพนัสนิคมในจังหวัดชลบุรี ซึ่งแน่นอนว่าเป็น ประเพณีที่สืบทอดมาอย่างช้านานของชาวบ้านในอำเภอ ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวลาวพวน อพยพมาจากประเทศลาวในสมัยต้นของรัตนโกสินทร์ ชาวบ้านจะนำเอาอาหารมาทำบุญตักบาตร เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้พระภูมิเจ้าที่ ร่วมไปถึงเจ้ากรรมนายเวร และดวงวิญญาณของญาติที่ล่วงลับไปแล้ว  และที่สำคัญเพื่อขับไล่สิ่งชั่วร้ายออกจากบ้าน ให้มีฝนตกตามฤดูกาล รวมไปถึงการทำให้พืชพรรณ มีผลผลิตนั้นอาหารสมบูรณ์ รวมไปถึงมีการสะเดาะเคราะห์ เพราะได้มีการนำเอาดินเหนียวมาปั้นเป็นรูปคนให้เท่ากับจำนวนคนในบ้าน พร้อมกับสัตว์เลี้ยง และนำข้าวปลาอาหารในกระทงเล็กๆ ไปไว้ในวันทำบุญ หลังจากที่พระสวดเสร็จนั้นก็นำไปกระทงและรูปปั้น ไปไว้ที่หัวไร่ปลายนา หรือจะเป็นทางสามแพร่ง กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก อิทธิพลจากศาสนาพุทธ ในกิจกรรมงานบุญกลางบ้านนั้นมีการละเล่นพื้นบ้าน รวมไปถึงการสาธิตทำเครื่องจักสานของอำเภอพนัสนิคมอีกด้วย นับว่าเป็นเทศกาลที่แสดงถึง ความเป็นอยู่ของคนในชุมชน รวมไปถึงการอนุรักษ์ความเชื่อของบรรพบุรุษ และมีการทำบุญเกิดขึ้นด้วย           

กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออก ประเพณีอันดีงามถือว่ามีบ่อเกิดมาจากสภาพสังคมของชุมชน รวมไปถึงทัศนคติที่มีต่อ ศาสนา เอกลักษณ์และค่านิยมต่างๆ ซึ่งในอดีตแน่นอนว่าชาวบ้านมีความเชื่อถึงอำนาจของดินฟ้าอากาศ รวมไปถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์มากมาย การจัดทำประเพณีต่างๆ จึงมีอิทธิพลมามากจากสิ่งเหล่านี้ และเมื่อมีการสืบต่อกันมามาอย่างยาวนาน คนในรุ่นหลังจึงยึดเป็นปฏิบัติและเป็นธรรมเนียม รวมไปถึงการเป็นระเบียบแบบแผนที่ทำต่อกันมายาวนาน เป็นพิมพ์เดียวกัน จนทำให้กลายเป็นประเพณีของแต่ละชุมชนที่อยู่อาศัย และนอกจากจะเป็นประเพณีที่มีประโยชน์ต่อความเชื่อแล้ว ยังส่งเสริมเศรษฐกิจในแต่ละจังหวัดด้วย กิจกรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกดึงดูดนักท่องเที่ยว เพราะสามารถเป็นแหล่งเศรษฐี ให้มีเงินสะพัดได้ในการจัดพิธีกรรมต่างๆ

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีที่สวยงาม ของภาคตะวันออก เอกลักษณ์ของแต่ละจังหวัด

สนับสนุนโดย: https://ufaball.bet/ เว็บพนันออนไลน์ มั่นคงปลอดภัย มั่นใจซื่อตรง เปิดบริการแล้วครบจบในที่เดียว