ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรี ประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมของชาวจังหวัดชลบุรี 

ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรี

ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรี ประเพณีนี้ถือได้ว่าเป็นของชาวไร่ชาวสวน หรือเกษตรกรอย่างแท้จริงเลย  ประเพณีวิ่งควายเกิดขึ้นเมื่อไหร่นั้น ไม่มีหลักฐานปรากฎอย่างแน่ชัด แต่มีหลักฐานว่าการเล่นวิ่งวัว วิ่งควายนี้มีกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ประเพณีวิ่งควายของจังหวัดชลบุรี โดยจัดขึ้นเพื่อเป็นการทำขวัญควาย และมีความเชื่อว่า ถ้าปีไหนไม่มีการวิ่งควาย ปีนั้นวัวควายจะเป็นโรคระบาดล้มตายจำนวนมาก จึงมีการจัดประเพณีนี้สืบต่อกันมายาวนาน ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีมักจะจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 แสดงให้เห็นถึงความผูกพันที่แน่นแฟ้นระหว่างชาวนาไทย ควายไทย และอาชีพเกษตรกรรมทำนาของไทย

ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรี ประเพณีเก่าแก่ ที่มีมานานตั้งแต่อดีตกาล 

ประเพณีวิ่งควายมักจะจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ซึ่งเป็น 1 วันก่อนออกพรรษา แต่กำหนดการจะช้าเร็วบ้าง แตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่ มีงานทำบุญตักบาตรเทโวโรหณะ เมื่อ ชาวไร่ ชาวสวน นำสินค้ามาจำหน่ายจะเป็นกล้วย มะพร้าว ใบตอง ข้าวเหนียว ฯลฯ บรรทุกใส่เกวียนมาจำหน่ายให้ชาวบ้าน ร้านค้า นำไปทำข้าวต้มหาง ใส่บาตรหรือบรรทุกสินค้าอื่นๆ มาก็ จะพักควายไว้ในบริเวณวัด ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีมักจะจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 และเมื่อจับจ่ายสินค้า ซื้อหาสิ่งของที่ต้องประสงค์เสร็จสิ้นแล้ว ก็ถือโอกาสที่นานทีจะได้พบปะกัน จูงควายเข้าตลาดจนกลายมาเป็นวิ่งควายรอบๆ ตลาดด้วยความ สนุกสนาน ในปีต่อๆ มาก็เพิ่มการตกแต่งควายสวยงาม เป็นการทำขวัญควายไปในตัว เช่น ทำถุงสวมเขาควาย ตกแต่งเชือกจูงควาย ปฏักเฆี่ยนควาย ทำฉบับหน้าควาย และเพิ่มการตกแต่งคนขี่ควาย ให้สวยงามวิจิตรพิสดาร ไปตามความคิดเห็นของตน จนกลายเป็นประเพณีวิ่งควาย ที่จะต้องแต่งตัวทั้งคนและควาย ในระยะหลังแม้ไม่ได้นำเกวียนบรรทุกสินค้าเข้าสู่ตลาด แต่เมื่อถึงเทศกาลวิ่งควายก็ยังคงนำควายเข้ามาวิ่งเป็นประจำ ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีที่เดียวในไทยและที่เดียวในโลก และนำควายมาพักตามลานวัดต่างๆ ลานวัดเกือบทุกวัดจึงเป็นลานสำหรับพักควาย ในเทศกาลวิ่งควาย และความเชื่ออีกอย่างของชาวบ้านที่นี่นั้น หากคนใดเกิดเจ็บป่วย เจ้าของควายจะบนบานศาลกล่าวด้วยการนำควายมาวิ่งแก้บน จนเป็นประเพณีสืบต่อกันมาตราบเท่าทุกวันนี้ ปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีประจำจังหวัดชลบุรีที่โด่งดังรู้จักกันไปทั่วทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศอีกต่างหาก นับว่าเป็นประเพณีอันดีงามของประเทศไทยเราเลยทีเดียว  ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีจัดขึ้นทุกๆ ปี  ซึ่งภายในงานนั้นก็จะประกอบด้วย กิจกรรมหลากหลาย ให้เหล่านักท่องเที่ยว นักเดินทางทุกท่านได้เข้ามาร่วมสนุกกัน  ไม่ว่าจะเป็น การแข่งวิ่งควายในรุ่นต่าง ๆ การประกวดสุขภาพควาย การประกวดพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ การแข่งขันตกแต่งควายประเภทสวยงาม รวมทั้งมีการจำหน่ายสินค้า OTOP และอาหารพื้นเมืองอีกด้วย นับว่าเป็นประเพณีที่ให้ความสนุกสนามรื่นเริ่ง สร้างความปรองดองแก่ชาวบ้านอีกด้วย อีกทั้งยังเสริมสร้างบรรยากาศที่ดี ที่จะทำให้ทุกท่านนั้นสนุก และได้รับความเพลิดเพลินใจไปด้วยกัน  เราขอการันตีเลยว่า เป็นประเพณีมีที่เดียวในไทยที่ท่านพลาดไม่ได้เลย และประเพณีวิ่งควายนั้น เป็นประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมที่มีมายาวนานกว่า 100 ปี ของจังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นจังหวัดเดียวของประเทศไทย ประเพณีนี้ถือได้ว่าเป็นของชาวไร่ชาวสวน หรือเกษตรกรอย่างแท้จริง ในการที่จะมีโอกาสพบปะสังสรรค์ ประกวดประชันการบำรุงเลี้ยงควายของกันและกัน ควายของใครสมบูรณ์กว่ากัน จึงถือเป็นประเพณีของท้องถิ่นอย่างแท้จริง ถ้าหากให้พูดถึงความสำคัญของประเพณีวิ่งควายนั้น ประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งตกทอดมาจากบรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีจัดขึ้นทุกๆ ปี  จุดมุ่งหมายเพื่อให้ชาวบ้านได้เตรียมของไปถวายวัด ปัจจัยไทยธรรมได้พักผ่อนและได้สังสรรค์กันระหว่างชาวบ้านซึ่งเหนื่อยจากงานและให้ควายได้พักเนื่องจากต้องตรากตรำในการทำนา ปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีของจังหวัดชลบุรี โด่งดังเป็นที่รู้จักของชาวไทยและต่างประเทศและในส่วนของพิธีกรรมนั้น  ประเพณีวิ่งควาย จะจัดในช่วงเช้า เพื่อให้ควายได้พักจากการไถนา ชาวไร่ชาวนาจะนำควายมาประดับตกแต่งอย่างสวยงาม ชาวไร่ชาวนาที่มาด้วย ก็ขี่ควายเดินไปตามตลาดและวิ่งอวดประกวดกันเป็นที่สนุกสนาน ปัจจุบันนำควายมาประกวดความสมบูรณ์และประลองฝีมือโดยจัดให้มีการแข่งขันวิ่งควาย

ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรี

ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพื่อเป็นการทำขวัญควายและให้ควายได้พักผ่อนหลังจากที่ทำงานมาหนัก ประเพณีวิ่งควายจังหวัดชลบุรีมักจะจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 และยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีคุณค่าต่อชาวนาด้วย นอกจากนี้ก็ยังเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้มาพบปะสังสรรค์กันด้วย เพราะฉะนั้นกิจกรรมนี้ถือว่าห้ามพลาด

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีก่อพระทรายวันไหล ประเพณีสำคัญของชาวแสนสุข

ปราสาทสัจธรรมชลบุรี สถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อของจังหวัดชลบุรี