Categories
ประเพณี

ประเพณีวิ่งควายชลบุรี ประเพณีขึ้นชื่อของชาวจังหวัดชลบุรีที่ไม่ควรพลาด

ประเพณีนี้ถือได้ว่าเป็นของชาวไร่ชาวสวน หรือเกษตรกรอย่างแท้จริง ประเพณีวิ่งควายเกิดขึ้นเมื่อไหร่นั้น ไม่มีหลักฐานปรากฎอย่างแน่ชัด แต่มีหลักฐานว่าการเล่นวิ่งวัว ประเพณีวิ่งควายชลบุรี นี้มีกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยจัดขึ้นเพื่อเป็นการทำขวัญควาย และ ประเพณีวิ่งควายชลบุรี ความเชื่อ ว่าถ้าปีไหนไม่มีการวิ่งควาย ปีนั้นวัวควายจะเป็นโรคระบาดล้มตายจำนวนมาก จึงมีการจัดประเพณีนี้สืบต่อกันมายาวนาน แสดงให้เห็นถึงความผูกพันที่แน่นแฟ้นระหว่างชาวนาไทย ควายไทย และอาชีพเกษตรกรรมทำนาของไทย

ประเพณีวิ่งควายชลบุรี เป็นประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมของไทย ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ใว้

ประเพณีวิ่งควายมักจะจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ซึ่งเป็น 1 วันก่อนออกพรรษา แต่กำหนดการจะช้าเร็วบ้าง แตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่ มีงานทำบุญตักบาตรเทโวโรหณะ เมื่อ ชาวไร่ ชาวสวน นำสินค้ามาจำหน่ายจะเป็นกล้วย มะพร้าว ใบตอง ข้าวเหนียว ฯลฯ บรรทุกใส่เกวียนมาจำหน่ายให้ชาวบ้าน ร้านค้า นำไปทำข้าวต้มหาง ใส่บาตรหรือบรรทุกสินค้าอื่นๆ มาก็ จะพักควายไว้ในบริเวณวัด และเมื่อจับจ่ายสินค้า ซื้อหาสิ่งของที่ต้องประสงค์เสร็จสิ้นแล้ว ก็ถือโอกาสที่นานทีจะได้พบปะกัน จูงควายเข้าตลาดจนกลายมาเป็นวิ่งควายรอบๆ ตลาดด้วยความสนุกสนานในปี ช่วงเวลาต่อๆ มาประเพณีวิ่งควายชลบุรี ก็มีการเพิ่มการตกแต่งควายสวยงาม เป็นการทำขวัญควายไปในตัว เช่น ทำถุงสวมเขาควาย ตกแต่งเชือกจูงควาย ปฏักเฆี่ยนควาย ทำฉบับหน้าควาย และเพิ่มการตกแต่งคนขี่ควาย ให้สวยงามวิจิตรพิสดาร ไปตามความคิดเห็นของตน จนกลายเป็นประเพณีวิ่งควาย ที่เรียกได้ว่าจะต้องแต่งตัวทั้งคนและควายเลยทีเดียว ในระยะหลังแม้ไม่ได้นำเกวียนบรรทุกสินค้าเข้าสู่ตลาด แต่เมื่อถึงเทศกาลวิ่งควายชาวบ้านก็ยังคงนำควายเข้ามาวิ่งเป็นประจำ และนำควายมาพักตามลานวัดต่างๆ ลานวัดเกือบทุกวัดจึงถือเป็นลานสำหรับพักควายในเทศกาลวิ่งควายเลยแหละ  และมีความเชื่ออีกอย่างของชาวบ้านที่ว่า หากคนใดเกิดเจ็บป่วย เจ้าของควายจะบนบานศาลกล่าวด้วยการนำควายมาวิ่งแก้บน จนเป็นประเพณีวิ่งควายชลบุรี การอนุรักษ์ และสืบต่อกันมาตราบเท่าทุกวันนี้ ปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีประจำจังหวัดชลบุรีที่โด่งดังรู้จักกันไปทั่วทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเลยก็ว่าได้ ซึ่งภายในงานนั้นก็จะประกอบด้วยกิจกรรมหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น การแข่งวิ่งควายในรุ่นต่าง ๆ การประกวดสุขภาพควาย การประกวดพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ การแข่งขันตกแต่งควายประเภทสวยงาม รวมทั้งมีการจำหน่ายสินค้า OTOP และอาหารพื้นเมืองอีกด้วย นับว่าเป็นประเพณีที่ให้ความสนุกสนามรื่นเริ่ง ที่ทุกท่านพลาดไม่ได้เลย ประเพณีวิ่งควายนั้นเป็นประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมที่มีมายาวนานกว่า 100 ปี ของจังหวัดชลบุรีเลยก็ว่าได้  ซึ่งเป็นจังหวัดเดียวของประเทศไทย ประเพณีนี้ถือได้ว่าเป็นของชาวไร่ชาวสวน หรือเกษตรกรอย่างแท้จริง ในการที่จะมีโอกาสพบปะสังสรรค์ ประกวดประชันการบำรุงเลี้ยงควายของกันและกัน ควายของใครสมบูรณ์กว่ากัน จึงถือเป็นประเพณีของท้องถิ่นอย่างแท้จริง

มาดูกันเลยว่าประเพณีนี้มีความสำคัญอย่างไร

  • นับว่าเป็นประเพณีเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งตกทอดมาจากบรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน เป็น ประเพณีวิ่งควายชลบุรีประจำปี ที่มีจุดมุ่งหมายก็เพื่อให้ชาวบ้านได้เตรียมของไปถวายวัด ปัจจัยไทยธรรมได้พักผ่อน และได้สังสรรค์กันระหว่างชาวบ้านที่เหนื่อยจากงานและให้ควายได้พักเนื่องจากต้องตรากตรำในการทำนา ปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีของจังหวัดชลบุรี โด่งดังเป็นที่รู้จักของชาวไทยและต่างประเทศเลย
  • ซึ่งในส่วนของพิธีกรรม ประเพณีวิ่งควายชลบุรีการอนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีดังกล่าวนี้  จะจัดในช่วงเช้า เพื่อให้ควายได้พักจากการไถนา ชาวไร่ชาวนาจะนำควายมาประดับตกแต่งอย่างสวยงาม ชาวไร่ชาวนาที่มาด้วย ก็ขี่ควายเดินไปตามตลาดและวิ่งอวดประกวดกันเป็นที่สนุกสนาน ปัจจุบันนำควายมาประกวดความสมบูรณ์และประลองฝีมือโดยจัดให้มีการแข่งขันวิ่งควาย
  • สำหรับประเพณีวิ่งควาย ชลบุรี เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพื่อเป็นการทำขวัญควายและให้ควายได้พักผ่อนหลังจากที่ทำงานมาหนัก และยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ซึ่ง ประเพณีวิ่งควายชลบุรีมีความเชื่อว่า ถ้าปีไหนไม่มีการวิ่งควาย ปีนั้นวัวควายจะเป็นโรคระบาดล้มตายจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ควายจึงเป็นสัตว์ที่มีคุณค่าต่อชาวนาและทุกคนให้ความสำคัญกับควาย  และยังเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้มาพบปะสังสรรค์กันด้วย
ประเพณีวิ่งควายชลบุรี

ประเพณีวิ่งควายชลบุรี ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีเลยก็ว่าได้ มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ประเพณีวิ่งควายชลบุรีประจำปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพื่อเป็นการทำขวัญควายและให้ควายได้พักผ่อนหลังจากไถมาเป็นเวลานาน เป็นประเพณีที่น่าสนใจมากและห้ามพลาดเลยเชียว

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีดังเมืองตราด มีความน่าสนใจ ไม่แพ้ประเพณีจังหวัดอื่นๆ

โลเคชั่นยอดฮิตระยอง จังหวัดยอดฮิตทางภาคตะวันออก

Categories
ประเพณี

ประเพณีดังเมืองตราด มีความน่าสนใจ ไม่แพ้ประเพณีจังหวัดอื่นๆ

ประเพณีดังเมืองตราด

เมืองเกาะสวยที่งดงามไปด้วยหมู่เกาะน้อยใหญ่เรียงรายท่ามกลางพื้นน้ำของทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออก โดยมีเกาะช้างเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีหมู่เกาะสวย ทะเลใส หาดทรายขาว มีความเป็นธรรมชาติค่อนข้างสูง  นอกจากความสวยงามของหมู่เกาะนับร้อยแล้ว ยังเป็นเมืองที่มี ประเพณีดังเมืองตราด อีกด้วย ใครที่กำลังมองหาสถานที่ท่องเที่ยว หรืออยากที่จะเพลิดเพลินไปกับบรรยากาศแบบไทยๆดั้งเดิม เราแนะนำเลยว่าต้องมาที่นี่ เพราะ ประเพณีดังเมืองตราด ภาคตะวันออก ของเราตอบโจทย์ทุกท่านอย่างแน่นอน 

ประเพณีดังจังหวัดตราด วัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีการสืบทอดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 

จังหวัดของเรานั้นมีประเพณีที่ขึ้นชื่อมากมายให้เหล่านักท่องเที่ยวทุกท่านได้เยี่ยมชม ซึ่ง ประเพณีดังจังหวัดตราด แต่ละประเพณีนั้นก็มีเอกลักษณ์โดเด่นที่แตกต่างกันออกไป วันนี้ ประเพณีจังหวัดตราด งานเทศกาล ของเรา จึงอยากจะบอกต่อประเพณีและงานเทศกาลที่น่าสนใจ ให้ทุกท่านได้เก็บใว้ในลิสต์ เมื่อมาเที่ยวจังหวัดตราดจะได้ไม่พลาดงานเทศกาลดังๆของเรา   

ประเพณีดังเมืองตราด
  • ประเพณี ยี่เป็ง เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนา ที่จัดขึ้นในวันเพ็ญเดือน 2 ของล้านนา คำว่า ยี่ แปลว่า สอง และคำว่า เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งชาวไทยในภารเหนือจะนับเดือนทางจันทรคติเร็วกว่าไทยภาคกลาง 2 เดือน ประเพณี ยี่เป็งจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 13 ค่ำ ซึ่งถือว่าเป็น วันดา หรือวันจ่าย การจัดประเพณียี่เป็ง เป็น ประเพณีดังเมืองตราด วัฒนธรรม  ที่มีมานานรุ่นสู่รุ่น นำวิถีชีวิตประเพณีชาวเหนือสื่อเป็นสัญลักษณ์ โดยช่วงกลางวันจะมีการประดิษฐ์โคมไฟเป็นรูปต่างๆและสีสันแตกต่างกันไป ก่อนนำมาแขวนไว้หน้าบ้าน ช่วงเย็นจะมีการปล่อยโคมลอยขนาดใหญ่ เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งถือเป็นประเพณีของชาวล้านนา โคมไฟหลากสีจะมีการแขวนไว้หน้าบ้านเป็นพุทธบูชาลอยกระทง ประเพณี ยี่เป็ง ของชาวเหนือในพื้นที่อำเภอบ่อไร่ มีการจัดขึ้นทุกปี และเป็นที่เดียวในจังหวัดตราด ที่มีอยู่ในพื้นที่อำเภอบ่อไร่จวบจนทุกวันนี้ 
ประเพณีดังเมืองตราด
  • งานจัดงานวันระกำหวาน ผลไม้ และของดีเมืองตราด ประจำปี 2556 ว่า งานดังกล่าวในปีนี้กำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 – 16 มิถุนายน 2556 ณ บริเวณด่านบ้านท่าจอด ตำบลแสนตุ้ง อำภเอเขาสมิง เป็น  ประเพณีดังเมืองตราด งานเทศกาล ที่ห้ามพลาด โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ชื่อเสียงผลไม้ที่มีคุณภาพของจังหวัด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมทางด้านการตลาดให้กับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ และผู้ผลิตสินค้าชุมชน และท้องถิ่นของจังหวัดตราด ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด การจัดงานดังกล่าวภายในงานมีกิจกรรมที่หลากหลาย ประกอบด้วย การประกวดผลไม้ ทั้งระกำหวาน ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ลองกอง สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง มังคุด และเงาะโรงเรียน พร้อมทั้งการเปิดตลาดนัดผลไม้คุณภาพราคาถูก การแสดงนิทรรศการด้านการเกษตร การประกวดอาหารพื้นบ้าน การประกวดประกอบอาหารคาว ประกวดประกอบอาหารหวานจากผลไม้ การแข่งขันรับประทานผลไม้ เป็นต้น 
ประเพณีดังเมืองตราด
  • งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวีที่เกาะช้าง วันที่ 17-21 หรือ วันที่ 23 มกราคม ณ บริเวณอนุสรณ์สถานยุทธนาวีที่เกาะช้าง ฝั่งอำเภอแหลมงอบ ร่วมกันจัดโดยกองทัพเรือ จังหวัดตราด และอำเภอแหลมงอบ เพื่อระลึกถึงการทำยุทธนาวีของกองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 อันเป็นยุทธนาวีครั้งสำคัญยิ่งของกองทัพเรือไทย ในครั้งนั้น ฝรั่งเศสส่งกำลังทางเรือ ประกอบด้วย เรือลาดตระเวนลามอตต์ปิเกต์เป็นเรือธง เรือสลุบ 2 ลำ และเรือปืน 4 ลำ เข้ารุกล้ำน่านน้ำไทย บริเวณเกาะช้าง จังหวัดตราด เพื่อจะเข้าระดมยิงหัวเมืองชายทะเลทางภาคตะวันออกของไทย เฉพาะเรือลามอตต์ปิเกต์เพียงลำเดียว ก็มีกำลังพลมากกว่ากำลังพลทั้งหมดของกำลังรบทางเรือไทย ที่รักษาการณ์อยู่บริเวณนั้นอันประกอบด้วย เรือหลวงธนบุรี เรือหลวงชลบุรี และเรือหลวงสงขลา ถึงแม้ว่ากำลังรบของไทยจะเสียเปรียบอย่างมาก แต่วีรชนผู้กล้าหาญของไทยก็ยังมีขวัญและกำลังใจอันเข้มแข็ง ได้เข้าขัดขวางผู้รุกล้ำอธิปไตยและทำการต่อสู้อย่างสุดกำลังความสามารถ ยอมสละชีพเพื่อปกป้องแผ่นดินและรักษาเอกราชด้วยความกล้าหาญ ซึ่งเหตุการณ์รบครั้งนั้น กำลังทางเรือของเราที่รักษาการณ์อยู่ สามารถทำให้กำลังทางเรือของฝรั่งเศสได้รับความเสียหาย และต้องล่าถอยไปในที่สุด เป็นอีกหนึ่ง ประเพณีดังเมืองตราด ภาคตะวันออก เลยก็ว่าได้ ซึ่งในงานมีริ้วขบวนของส่วนราชการ การทำบุญอุทิศส่วนกุศล และลอยมาลายสักการะดวงวิญญาณทหารเรือที่เสียชีวิตในครั้งนั้น นอกจากนี้ยังมีการแสดงนิทรรศการของกองทัพเรือ และส่วนราชการต่างๆ มีมหรสพสมโภชน์ตลอดงาน

ประเพณีดัง เมืองตราด เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของไทย เมืองมีเกาะสวยที่งดงามไปด้วยหมู่เกาะน้อยใหญ่เรียงรายท่ามกลางพื้นน้ำของทะเลอ่าวไทย ใครที่ชื่นชอบในการท่องเที่ยว ต้องห้ามพลาดจังหวัดนี้ อีกทั้งจังหวัดตราดนั้นก็ยังมีประเพณีดังเมืองตราดงานเทศกาล ต่างๆ ที่เราขอบอกเลยว่า น่าสนใจไม่แพ้จังหวัดอื่นเลยทีเดียว 

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีดังภาคตะวันออก ของประเทศไทยที่น่าสนใจ

โลเคชั่นยอดฮิตระยอง จังหวัดยอดฮิตทางภาคตะวันออก

Categories
ประเพณี

มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรี

มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรี

มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีของเรานั้น เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานมีการพบซากโบราณสถาณในหลายพื้นที่ของจังหวัดนอกจากนี้ยังมีแหล่งที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติอีกมากมายหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง3 แห่งด้วยกัน มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี อีกทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่าไม้มากที่สุดของภาคตะวันออกอีกด้วย  มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี ชวนหลงใหล เดิมที่จังหวัดปราจีนบุรีนั้น มีพื้นที่ที่กว้างใหญ่มากๆ จนกระทั่งได้มีการจัดตั้งจังหวัดสระแก้วแยกออกจากจังหวัดปราจีนบุรี

มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรี เป็นจังหวัดที่ได้รับนามว่า เมืองประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจของประเทศไทย

จังหวัดปราจีนบุรีนั้นมีประเพณีท้องถิ่น ที่นิยมปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นประเพณีตรุษสงกรานต์ ประเพณีการสวดคฤหัสถ์ ประเพณีแห่ดอกไม้ มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรีประเพณีแห่นางแมวประเพณีทำขวัญลาน ประเพณีบั้งไฟ  มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรีน่าตื่นตาตื่นใจ และอีกหลายๆประเพณี ถึงแม้ว่าจังหวัดของเราจะขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ แต่ประเพณีวรรฒธรรมดั้งเดิมของจังหวัดเรานั้น ก็น่าสนใจแพ้กัน เพราะแต่ละประเพณีนั้นมีความโดดเด่นที่แตกต่างกัน 

มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรี
  • มาเริ่มกันที่ประเพณีแรกกันเลย นั่นคือ งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ทุกๆ วันที่ 16 เม.ย. ของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้วให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง  โดยเริ่มจากบริเวณศาลเจ้าพ่อพระปรง ม.8 มาตามถนนสุวรรณศร สระแก้ว-กบินทร์บุรี เรื่อยไปตามถนนสาย304 เข้าแยกปากท้องบ้านทุ่งแฝก สู่ตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์  โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น   มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี เมืองประวัติศาสตร์ ชาวอำเภอกบินทร์บุรีนั้นได้จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านานและโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา โดยเริ่มตั้งแต่ในช่วงเช้าของวันที่ 15 เมษายน จะมีการอัญเชิญองค์เจ้าพ่อพระปรงลงประทับที่แท่นต่ำ เพื่อให้ประชาชนทำการปิดทองและสรงน้ำ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์โดยศาลเจ้าพ่อพระปรงตั้งอยู่ริมถนนสุวรรณศร(หมายเลข 33) หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านนา อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ต่อกับเขต จ.สระแก้ว และริมแควพระปรง ซึ่งเป็นลำน้ำกั้นเขตแดนสองจังหวัด ในแต่ละวันที่มีประชาชนได้เดินทางสัญจรผ่านไปมาในเส้นทางนี้ไปยัง จ.สระแก้ว หรือเข้าสู่จังหวัดบุรีรัมย์ทาง อ.คลองหาด ก็จะมีประชาชนแวะมาสักการะกราบไหว้หรือไม่ก็บีบแตรยานพาหนะเป็นการแสดงความเคารพ
มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรี
  • งานประเพณีการแข่งเรือยาวจะเป็นงานประจำมาตั้งแต่พ.ศ. 2528 โดยจัดที่แม่น้ำบางปะกงหรือแม่น้ำปราจีนบุรีบริเวณสะพานณรงค์ดำริถึงหน้าวัดหลวงปีชากุลอำเภอเมืองปราจีนบุรี แต่เดิมมีการแข่งขันเรือเพียง 2 ประเภท คือ ประเภทใบพาย 2 ด้าน ซึ่งมี 15-19 ฝีพาย และแบบ 35 ฝีพาย ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2538 มีการแข่งขัน 4 ประเภท คือ แบบ 15-19 ฝีพาย, แบบ 30 ฝีพาย, แบบ 40 ฝีพาย, และแบบ 55 ฝีพาย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันนั้นจะได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารรี จึงทำให้เทศกาลการแข่งขันเรือยาวนั้น  มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี น่าตื่นตาตื่นใจ ได้รับความสนใจจากจังหวัด ต่างๆทั้งภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางได้ส่งเรือมาร่วมแข่งขันกับทางจังหวัดปราจีนบุรีปกติงานนี้จัดในช่วงเดือนกันยายนหรือเดือนตุลาคมของทุกปีแล้วแต่ความสูงของระดับน้ำ
  • และประเพณีสุดท้ายเราอยากจะนำเสนอนั่นก็คือ ประเพณีแห่นางแมวเป็นประเพณีที่เล่นเพื่อขอให้ฝนตกชาวนาชาวไร่จะได้ทำนา ทำได้ได้ตามฤดูกาล หากฝนไม่ตกหรืออากาศแห้งแล้งเกินกว่ากำหนด ชาวนาก็จะรวมกลุ่มกันขอฝน ด้วยการเอานางแมวหนึ่งตัวใส่กระชัง  มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี ชวนหลงใหล แบกกันสองคนแห่ไปตามหมู่บ้านต่างๆ ในเวลากลางวันหรือกะกลางคืนก็ได้ แล้วแต่สะดวกเลยมีทั้งพวกถือพานบ้างกระบุงบ้าง เดินตามขบวน เมื่อชาวบ้านอื่นเห็นขบวนแห่นางแมวผ่านไป ก็จะนำน้ำมาสาดแมวและสัตว์พวกขบวนแห่ด้วย พร้อมกับอวยพรให้ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล และให้ข้าวสารใส่กระบุงให้เห็นสายพาน เมื่อเลิกใช้แล้วชาวนาก็จะนำสิ่งของเรานั้นที่ได้มาไปถวายแก่วัดเพื่อความเป็นสิริมงคล

มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย และอย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า จังหวัดปราจีนบุรีนั้นเป็นเมืองประวัติศาสตร์ มีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมรดกโลกถึง 3 แห่งด้วยกนะอีกทั้ง ยังประเพณีต่างๆ ที่สำคัญของคนในจังหวัด  มัดรวมประเพณีขึ้นชื่อจังหวัดปราจีนบุรีเมืองประวัติศาสตร์ บอกเลยว่าเป็นจังหวัดที่น่ามาท่องเที่ยวมากเลยทีเดียว

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีดังภาคตะวันออก ของประเทศไทยที่น่าสนใจ

โลเคชั่นยอดฮิตระยอง จังหวัดยอดฮิตทางภาคตะวันออก

Categories
ประเพณี

งานมหกรรมทุเรียนโลก ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีของจังหวัดจันทบุรี

ในจังหวัดเขตฝั่งทะเลตะวันออกของไทย นั้นเต็มไปด้วยท้องทะเลและสวนผลไม้ชนิดต่าง ๆในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี ก็จะเป็นฤดูของผลไม้ชนิดต่าง ๆ ที่จะให้ผลผลิตกับชาวสวนกันอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทุเรียน เงาะ มังคุดลองกอง ลางสาด สละ ซึ่งมีหลายพันธุ์  หลายชนิด  ในจังหวัด ระยอง จันทบุรี ตราด  เป็นพื้นที่ผลิตผลไม้ ชนิดต่าง ๆจำนวนมาก ออกมาสู่ตลาดในทุกๆ ปี  งานมหกรรมทุเรียนโลก อร่อยมาก จนกลายเป็นแหล่งตลาดผลไม้ขนาดใหญ่ ของประเทศ  และในช่วงเดือน พฤษภาคมของทุกปี แต่ละจังหวัดก็จะมีการจัดงานและกิจกรรมเกี่ยวกับผลไม้ กันอย่างยิ่งใหญ่ เพื่อสื่อให้เห็นว่าภูมิภาคแถบนี้ยังเต็มไปด้วยผลไม้ที่อุดมสมบูรณ์อย่างยิ่ง

งานมหกรรมทุเรียนโลก ซึ่งจะขึ้นภายในบริเวณ สวนสาธารณะพระเจ้าตากสินนั่นเอง

 ทางด้านในมีอ่างเก็บน้ำทุ่งนาเชยหรือ (ทะเลสาบทุ่งนาเชย)  ทางด้านริมฝั่งนั้นเต็มไปด้วย แพผลไม้ ที่แต่ละอำเภอแต่ละหน่วยงานต่าง ๆ ได้จัดทำขึ้นอย่างสวยงามน่าดูชม  แต่ละแพทำเป็นสัญญาลักษณ์ต่าง ๆ  ประดับด้วยผลไม้ชนิดต่าง ๆ เต็มไปหมด งานมหกรรมทุเรียนโลก มีของดีแต่ละอำเภอ ที่นำมาจัดโชว์ กันอย่างสุดขีด ไม่ว่าจะเป็น ทุเรียนพันธุ์ต่าง ๆ เงาะสีชมพูเงาะโรงเรียน มังคุด ลองกอง ลางสาด สับปะรด สละเนินวง และพืชผักชนิดต่าง ๆ งานมหกรรมทุเรียนโลก อร่อยมาก ซึ่งทางจังหวัดเขาจัดกิจกรรมการประกวดแพผลไม้ด้วย แต่ละแพนี่ออกแบบสรรค์สร้างได้อย่างอลังการ เหลือหลาย สวยงามทุกแพ ชนิดที่ว่ากินกันไม่ลงเลยทีเดียวเล่นเอาคณะกรรมการหนักใจไปตาม ๆกัน  น่าจะเป็นแห่งเดียวไนประเทศไทยที่มีการทำแพผลไม้ได้ยิ่งใหญ่ขนาดนี้ มีประชาชนและนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่หลั่งไหลกันเข้ามาชมแพผลไม้กันอย่างตื่นตาตื่นใจ และถ่ายรูปเก็บไว้เป็นที่ระลึกอย่างสนุกสนาน แต่ละแพนี่เขาบรรจงสร้างได้สุดยอด จริง ๆ คุ้มค่ากับการรอคอย ที่ หนึ่งปี ได้ดู ครั้งเดียว แต่ถ้าลื้อแพออกมานี่ผมว่าได้ผลไม้กองโตแน่นอน ต่อกันเลยกับกิจกรรม ของดีเมืองจันทร์ ที่ซุ้มของเกษตรจังหวัด มีกิจกรรมการประกวดผลไม้ ชนิดต่าง ๆ เพื่อค้นหาของดีเมืองจันทร์ นอกจากนั้นยังประกวดผลไม้แปลก และผลไม่ใหญ่ยักษ์ งานมหกรรมทุเรียนโลกของดี ทางด้านในเต็มไปด้วยผลไม้คุณภาพ ที่ชาวสวนดูแลรักษามาตลอดทั้งปี วางเรียงรายเต็มไปหมด มีทุกชนิดครับ คงไม่ต้องบอกนะครับว่ามีอะไรบ้าง  เอาบอกให้ก็ได้ ก็มี ทุเรียนพันธุ์ต่าง ๆ เงาะโรงเรียน เงาะสีชมพู มังคุด ลองกอง สละเนินวง กระท้อนลูกโต มีชาวสวนส่งผลไม่เข้าประกวดกันเยอะมาก ๆ แต่ละสวนก็คัดเอาผลผลิตที่ดีที่สุดของตน ส่งเข้าประกวด เมื่อเราเดินเข้าไป จะเห็นผลไม้ คุณภาพ 100 %  กันที่นี่เล่นเอากรรมการนั้นชิมจนอิ่มและตาแฉะไปตาม ๆกัน  เหล่ากรรมการก็เดินชม ชิมกันอย่างเต็มที่ เกณฑ์การตัดสินเขาจะดู ขนาดของผลว่าเหมาะสมกับน้ำหนักหรือไม่ ผิวพรรณเป็นยังไง งานมหกรรม ทุเรียนโลก ไปเที่ยว กิ่งก้านสมบูรณ์ไหม เนื้อด้านในได้คุณภาพหรือเปล่า และที่สำคัญเลยคือรสชาติที่ต้องสุดยอดจริง ๆ ดูเอเซีย.คอมได้ ลองชิมมังคุด ที่ชาวสวนส่งเข้าประกวด ลูกใหญ่เนื้อเยอะเม็ดไม่มี อร่อยมาก ๆครับ เวลาทานเข้าไปแล้วเนื้อมันจะกรอบ ๆ และออกเย็นๆ สมกับที่เขาว่ามังคุดเป็นยาเย็น  กรรมการเขาคัดจนได้ของดีเมืองจันทร์ สามอันดับในแต่ชนิดผลไม้ ส่วนผลไม้ที่เหลือทั้งหมดเขาจะให้ประชาชนซื้อหรือประมูลในราคากันเอง แบบราคาชาวสวน  แต่รับรอง ได้ของดีแน่นอนชัวร์ สำหรับกิจกรรมภายในงาน นอกจากการจำหน่ายทุเรียนจากสุดยอดแหล่งปลูกทั่วประเทศ เช่น หมอนทองจากจังหวัดอุตรดิตถ์ หมอนทอง ก้านยาว พวงมณี ชะนี นกหยิบ จากจังหวัดจันทบุรี หมอนทอง ชะนีจากจังหวัดระยอง หมอนทอง ชะนี จากอำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี หมอนทองจากป่าละอู จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และทุเรียนภูเขาไฟ จากจังหวัดศรีสะเกษ เป็นต้น ยังมีสินค้าเกษตรจังหวัดนนทบุรี งานมหกรรมทุเรียนโลกของดี และการจัดแสดงนิทรรศการประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้เรื่องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ Geographical Indication (GI) จังหวัดนนทบุรีเป็นแหล่งที่มีชื่อเสียงด้านการปลูกทุเรียนมานาน โดยเฉพาะทุเรียนนนท์ ซึ่งเป็นทุเรียนที่มีเนื้อละเอียดนุ่ม เนื้อหนา รสชาติดี และยังมีความหลากหลายของหลายสายพันธุ์ ทั้งนี้เนื่องจากลักษณะของดินในแถบนนทบุรี ที่มีสภาพเป็นดินเหนียว มีธาตุอาหารของพืชอุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้ทุเรียนที่โดดเด่นไม่เหมือนใคร นอกจากนี้ยังได้เป็นทุเรียน GI ที่ตอนนี้มีราคาแพงที่สุดในโลก อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการจำหน่ายทุเรียนจากแหล่งต่างๆ ทั่วประเทศ ให้เป็นที่รู้จักในตลาดโลก โดยเฉพาะกับผู้บริโภคชาวจีน

งานมหกรรม ทุเรียนโลก เป็นงานที่จัดขึ้นทุกปี ที่บริเวณเวทีกลางหน้าศาลาเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เทศบาลเมืองจันทบุรี ชมขบวนแห่ศิลปวัฒนธรรมของดีเมืองจันท์ที่สวยงามตระการตา งานมหกรรมทุเรียนโลกอร่อยมาก ทั้งนี้กิจกรรมต่างๆ ของงานจะกระจายไปทั่วบริเวณรอบสระน้ำอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รวมไปถึงสนามกีฬากลางจังหวัดจันทบุรี

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีดังภาคตะวันออก ของประเทศไทยที่น่าสนใจ

โลเคชั่นยอดฮิตระยอง จังหวัดยอดฮิตทางภาคตะวันออก

Categories
ประเพณี

ประเพณีดังภาคตะวันออก ของประเทศไทยที่น่าสนใจ

ประเพณีดังภาคตะวันออก

ที่มีความน่าสนใจไม่น้อยไปกว่าภาคอื่นของไทย เพราะ ประเพณีดังภาคตะวันออก เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยเสน่ห์มนต์ขลัง ชวนให้น่าขึ้นไปสัมผัสความงดงามเหล่านี้ยิ่งนัก ซึ่งภาคตะวันออกมีทั้งสิ้น 7 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ปราจีนบุรี สระแก้ว และตราด วันนี้ ประเพณีดังภาคตะวันออก การอนุรักษ์ เราจึงอยากจะหยิบยกประเพณีที่น่าสนใจของแต่ละจังหวัดมาบอกต่อแก่ทุกท่าน

ประเพณีดังภาคตะวันออก จะมีสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ แล้วยังมีประเพณีซี่งเป็นจุดเด่นอีกด้วย 

ในแต่ละภาคนั้นล้วนแต่มี ประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาค ซึ่ง ประเพณีดัง ภาคตะวันออก จะเป็นการบ่งบอกถึงวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของภูมิภาคนั้น ๆ ซึ่งส่งต่อมาในรูปแบบรุ่นสู่รุ่น เป็นการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยที่ ประเพณีดังภาคตะวันออก วัฒนธรรม บางอย่างนั้นได้เลือนลางหายไปทางยุคสมัยที่เปลี่ยนผ่านไป ซึ่งการท่องเที่ยวในปัจจุบันได้มีการเล็งเห็นไปถึงจุดนั้น แล้วได้มีการอนุรักษณ์สืบทอดเพื่อส่งต่อถึงคนรุ่นหลัง

ประเพณีดังภาคตะวันออก
  • ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็น ประเพณีดังภาคตะวันออกมีความสำคัญ ที่มีการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ   ซึ่งอพยพมาจากเวียงจันทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ซึ่งเรียกตัวเองว่า “ชาวลาวเวียง” ปัจจุบันตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา “บุญข้าวหลาม” เป็นประเพณีการทำบุญถวายข้าวหลาม ขนมจีนน้ำยาป่าแด่พระภิกษุสงฆ์ วัดหนองบัว วัดหนองแหน ซึ่งอยู่ในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ประเพณีนี้มีในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3ของทุก ปี เหตุที่ถวายข้าวหลามนั้น อาจเป็นเพราะเดือน 3 เป็นฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา จึงนำข้าวอันเป็นพืชหลักของตนที่ได้จากการเก็บเกี่ยวครั้งแรก ซึ่งเรียกว่าข้าวใหม่ จะมีกลิ่นหอมน่ารับประทานมาก นำมาทำเป็นอาหาร โดยใช้ไม้ไผ่สีสุกเป็นวัสดุประกอบในการเผา เพื่อทำให้ข้าวสุก เรียกว่า “ข้าวหลาม” เพื่อนำไปถวายพระภิกษุ
  • ต่อมาที่ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง ประเพณีดังภาคตะวันออก วัฒนธรรมของเรานั้นมีจุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ ชลบุรีประเพณีดัง ทางภาคตะวันออก สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่มีที่เดียวในไทย และที่เดียวในโลกเลย
  • และสุดท้ายคือ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวีที่เกาะช้าง วันที่ 17-21 หรือ วันที่ 23 มกราคม ณ บริเวณอนุสรณ์สถานยุทธนาวีที่เกาะช้าง ฝั่งอำเภอแหลมงอบ ร่วมกันจัดโดยกองทัพเรือ “จังหวัดตราด” และอำเภอแหลมงอบ โดย ประเพณีดัง ภาคตะวันออก การอนุรักษ์ นี้จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการทำยุทธนาวีของกองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 อันเป็นยุทธนาวีครั้งสำคัญยิ่งของกองทัพเรือไทย ในครั้งนั้น ฝรั่งเศสส่งกำลังทางเรือ ประกอบด้วย เรือลาดตระเวนลามอตต์ปิเกต์เป็นเรือธง เรือสลุบ 2 ลำ และเรือปืน 4 ลำ เข้ารุกล้ำน่านน้ำไทย บริเวณเกาะช้าง จังหวัดตราด เพื่อจะเข้าระดมยิงหัวเมืองชายทะเลทางภาคตะวันออกของไทย เฉพาะเรือลามอตต์ปิเกต์เพียงลำเดียว ก็มีกำลังพลมากกว่ากำลังพลทั้งหมดของกำลังรบทางเรือไทย ที่รักษาการณ์อยู่บริเวณนั้นอันประกอบด้วย เรือหลวงธนบุรี เรือหลวงชลบุรี และเรือหลวงสงขลา ถึงแม้ว่ากำลังรบของไทยจะเสียเปรียบอย่างมาก แต่วีรชนผู้กล้าหาญของไทยก็ยังมีขวัญและกำลังใจอันเข้มแข็ง ได้เข้าขัดขวางผู้รุกล้ำอธิปไตยและทำการต่อสู้อย่างสุดกำลังความสามารถ ยอมสละชีพเพื่อปกป้องแผ่นดินและรักษาเอกราชด้วยความกล้าหาญ ซึ่งเหตุการณ์รบครั้งนั้น กำลังทางเรือของเราที่รักษาการณ์อยู่ สามารถทำให้กำลังทางเรือของฝรั่งเศสได้รับความเสียหาย และต้องล่าถอยไปในที่สุด

ประเพณีดัง ภาคตะวันออก เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยเสน่ห์มนต์ขลัง ที่ชวนให้นักท่องเที่ยวทุกท่านได้ขึ้นไปสัมผัสความงดงามด้วยตัวเอง เพราะนอกจากจะมีสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ มากมายแล้ว ยังมี ประเพณีดังภาคตะวันออกมีความสำคัญ หลายประเพณีด้วยกัน ซึ่งในแต่ละภาคนั้นล้วนแต่มี ประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ ที่เมื่อใครได้เห็น ได้สัมผัส เป็นอันต้องติดใจ และประทับใจอย่างมากแน่นอน

อ่านบทความอื่น ๆ >> งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง จัดขึ้นบนเขาคิชฌกูฏ จันทบุรี

สนับสนุนโดย : sagame SA-Game คาสิโนออนไลน์ พร้อมเปิดบริการพนันออนไลน์เต็มรูปแบบครบวงจรที่สุด ลองเลย !

Categories
ประเพณี

งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง จัดขึ้นบนเขาคิชฌกูฏ จันทบุรี

งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง

ถือเป็นประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานหลายสิบปี โดยมีความเชื่อว่าการเดินป่า ขึ้นยอดเขาคิชฌกูฏ จะได้บุญสูง และยังช่วยฝึกจิตใจฝึกความมานะอดทนไม่ย่อท้อ ต่อความยากลำบาก ครั้งหนึ่งในชีวิตควรหาโอกาสสักครั้งที่จะได้ขึ้นเขามานมัสการ งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง รอยพระพุทธบาทบนเขาคิชฌกูฏแห่งนี้ และการได้มากราบไหว้ ขอพรรอยพระพุทธบาท เหมือนได้เข้าเฝ้าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะสร้างความสุขแก่ครอบครัวและชีวิต จะเริ่มเปิดให้พุทธศาสนิกชน นักแสวงบุญ นักท่องเที่ยว ได้ขึ้นไปนมัสการ รอยพระพุทธบาทบนเขาคิชฌกูฏ ยอด “เขาคิชฌกูฏ” ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ ต.พลวง อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี เขาคิชฌกูฏ ที่จังหวัดจันทบุรี เป็นที่ประดิษฐานของรอยพระพุทธบาท ที่อยู่สูงที่สุดในประเทศไทยสูงกว่า 1050 เมตร งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง ขึ้นเขา จากระดับน้ำทะเล ถือว่าสูงที่สุด ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ “รอยพระพุทธบาท” มีลักษณะเป็นรอยบนหิน แผ่นใหญ่ มีรอยลึกประมาณ 2  เมตรเศษ กว้าง 1  เมตร ยาว 2  เมตร ค้นพบที่ ยอดเขาพระบาทห่างจากที่ทำการอุทยานเขาคิชฌกูฏราว 4  กม. 

งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง จัดบนยอดเขาคิชฌกูฏ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ

งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง

ที่มาของชื่อเขาคิชฌกูฏนั้น ในตำนานศาสนาพุทธกล่าวไว้ว่า เขาคิชฌกูฎ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงราชคฤห์ แคว้นมคธเป็นยอดเขาที่มีแนวเขา ล้อมโดยรอบ และเคยเป็นสถานที่ประทับของพระพุทธเจ้าในอดีต เป็นความดำริ ของพระครูธรรมสรคุณ ซึ่งเป็นกรรมการและเป็นหลักในการพัฒนาพระบาทพลวงตั้งแต่ พ.ศ.2515 ได้เสนอใช้ชื่อ พระบาทเขาคิชฌกูฎ  งานนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวงเป็นที่ระลึกถึงพระบรมศาสดา ในทุกๆ ปีจะมีพิธีเปิดและพิธีปิดการขึ้นไปนมัสการ รอยพระพุทธบาทเป็นประจำทุกปี นอกจากนี้ พระครูธรรมสรคุณ ยังได้สอนว่า “เท้าของพระพุทธองค์ แม้ประดิษฐานอยู่แห่งหน ตำบลใดก็ตาม งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง ขึ้นเขา ถ้าเรามีความเชื่อมั่น เคารพกราบไหว้ด้วยใจ อธิษฐานแล้ว ย่อมเกิดผลสำเร็จแก่ผู้นั้นทุกคนและเป็นสิริมงคล แก่ผู้นั้นตลอดไป งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง  ถือเป็นประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานหลายสิบปี โดยมีความเชื่อว่าการเดินป่าขึ้นยอดเขาคิชฌกูฏจะได้บุญสูง และยังช่วยฝึกจิตใจฝึกความมานะอดทนไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก ครั้งหนึ่งในชีวิตควรหาโอกาสสักครั้งที่จะได้ขึ้นเขามานมัสการรอยพระพุทธบาทบนเขาคิชฌกูฏแห่งนี้ และการได้มากราบไหว้ ขอพรรอยพระพุทธบาท งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง ความเชื่อ เหมือนได้เข้าเฝ้าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะสร้างความสุขแก่ครอบครัว และชีวิต โดยในปีพ.ศ 2564 จะเริ่มเปิดให้พุทธศาสนิกชน นักแสวงบุญ นักท่องเที่ยว ได้ขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทบนเขาคิชฌกูฏ โดยการขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวงจะมีรถบริการขึ้น – ลง เขา การเดินทางไปนมัสการรอยพระบาทพลวง เขาคิชฌกูฏ ให้ใช้ถนนสุขุมวิท เลี้ยวแยกซ้ายที่สี่แยกเขาไร่ยาไปตามทางหลวงหมายเลข 3249 ระยะทาง 24 กิโลเมตร จะถึงอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ โดยใช้ทางขึ้นเขาพระบาทพลวง  เมื่อถึงวัดพระบาทพลวงต้องจอดรถส่วนตัวทิ้งไว้บริเวณลานจอดรถที่ให้บริการ จากนั้นจะมีรถสองแถวบริการขึ้นเขาพระบาท งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง ขึ้นเขา ออกจากวัดพลวงไปสิ้นสุดที่บริเวณทางขึ้นยอดเขาพระบาท ใช้เวลาประมาณ 30 นาที จะถึงจุดเริ่มต้นการเดินเท้าขึ้นไปรอยพระบาท และในทุกๆ ปีช่วงเทศกาลปิดป่า เปิดเขา งานประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาท (พลวง) เขาคิชฌกูฏ มีระยะเวลารวม 60 วัน จะมีประชาชน พุทธศาสนิกชน นักท่องเที่ยวเกือบ 1 ล้านคน หรือบางปีก็เกิน 1 ล้านคนเศษ หลั่งไหลกันมาขึ้นเขาคิชฌกูฏเพื่อเข้าสักการะกราบไหว้ ขอพรรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานอยู่บนลานหินกว้าง มีหินลูกบาตรคอยให้ร่มเงาบนยอดเขา ที่ความสูงที่สุดในประเทศไทยจากน้ำทะเลกว่า 1,000 เมตร งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง กราบไหว้ ท่ามกลางทิวทัศน์ความสมบูรณ์ของธรรมชาติป่าเขา สร้างความอิ่มเอมใจแก่ผู้มาเยือน และเป็นอานิสงส์ต่อภาคการท่องเที่ยวของจังหวัดจันทบุรีในทุกๆ ด้านที่จะคึกคักตามมา ไม่ว่าโรงแรม ที่พัก ร้านอาหาร สินค้า OTOP ของที่ระลึก สินค้าเกษตรแปรรูป ผลไม้สดแห้งขายดี สร้างรายได้แก่ชาวจังหวัดจันทบุรีอย่างมาก

งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง จัดขึ้นระหว่างวันขึ้น 1 ค่ำเดือน 3 ไปจนถึงขึ้น1 ค่ำ เดือน 5

 ถือเป็นประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานหลายสิบปี โดยมีความเชื่อว่าการเดินป่า ขึ้นยอดเขาคิชฌกูฏ จะได้บุญสูง งานนมัสการ รอยพระพุทธบาทพลวง กราบไหว้ และยังช่วยฝึกจิตใจให้อดทน บอกเลยว่าเป็นอีกหนึ่งประเพณีที่ไม่ควรพลาดมากๆ เช่นเดียวกัน

อ่านบทความอื่น ๆ >> งานบุญกลางบ้านชลบุรี มาทำความรู้จักกับอีกหนึ่งประเพณีที่น่าสนใจ

ที่เที่ยวพัทยา จังหวัดชลบุรี ที่ทุกท่านไม่ควรพลาด

Categories
ประเพณี

งานบุญกลางบ้านชลบุรี มาทำความรู้จักกับอีกหนึ่งประเพณีที่น่าสนใจ

งานบุญกลางบ้านชลบุรี

ซึ่งจะจัดขึ้นในราวเดือน 3-6  โดยผู้เฒ่าหรือผู้นำชุมชนจะเป็นผู้กำหนดวันทำบุญและทำพิธีสะเดาะเคราะห์ เพื่อความร่มเย็นเป็นสุขของชาวบ้าน หลังพิธีสงฆ์จะมีการรับประทานอาหารร่วมกัน และมีการละเล่นพื้นบ้านเมืองพนัสนิคมเป็นเมืองเก่าแก่มีชุมชนที่มาจากเชื้อชาติต่าง ๆ งานบุญกลางบ้านชลบุรี มาอยู่ร่วมกันทั้งคนไทย ซึ่งอพยพมาตั้งแต่คราวเสียกรุงศรีอยุธยาอยู่ที่วัดโบสถ์ วัดหลวง และบ้านสวนตาล นอกจากนี้ชุมชนเชื้อสายลาวซึ่งมาอยู่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ปัจจุบัน คือ บริเวณหมู่บ้านศรีวิชัย ส่วนชุมชนชาวจีนนั้นมาอยู่ในคราวมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน ดังนั้น ประเพณีบุญกลางบ้านในแต่ละแห่งจึงมีรายละเอียดแตกต่างกันเล็กน้อย งานบุญกลางบ้านชลบุรีน่าสนใจ อันเนื่องมาจากความเชื่อและประเพณีดั้งเดิมของเชื้อชาตินั้น ๆ อย่างไรก็ดี งานบุญกลางบ้านนั้นมีมาแล้วนับร้อยปีและยังคงดำรงสืบทอดต่อ ๆ กันมาโดยตลอดในการทำบุญกลางบ้านนี้ ไม่ว่าชุมชนเชื้อชาติใดก็ตามมักถือคติการทำบุญที่คล้ายๆกัน คือ รำลึกถึงเจ้ากรรมนายเวร ภูตผี เทวดา เพื่อจะอยู่ดีมีแรง อยู่เย็นเป็นสุข สะเดาะเคราะห์ เสียเคราะห์ เป็นสิริมงคลและร่มเย็นเป็นสุขสิ่งที่ได้จากการทำบุญกลางบ้านทางอ้อม คือ ความสามัคคี การช่วยเหลือกัน มีการไต่ถามสารทุกข์สุกดิบ และปัญหาต่างๆ ปรึกษาหารือช่วยกันแก้ไข

งานบุญกลางบ้านชลบุรี ซึ่งจะจัดขึ้นในวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของสัปดาห์แรกเดือนพฤษภาคม หรือเดือน6 ของไทย

งานบุญกลางบ้านชลบุรี

งานประเพณีบุญกลางบ้าน ซึ่งชาวบ้านจะนำอาหารมาร่วมกันทำบุญตักบาตรอุทิศส่วนกุศลให้พระภูมิเจ้าที่เจ้ากรรมนายเวร ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อขับไล่สิ่งเลวร้าย ให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล พืชพันธุ์ธัญญาหารสมบูรณ์ หลังพิธีสงฆ์จะมีการรับประทานอาหารร่วมกัน การละเล่นพื้นบ้าน และสาธิตการทำเครื่องจักสานพนัสนิคม  งานบุญกลางบ้าน ชลบุรี อำเภอพนัสนิคม เป็นเมืองเก่าที่เคยเจริญรุ่งเรืองในอดีตมานับร้อยปี มีชุมชนอาศัยอยู่ร่วมกันหลายเชื้อชาติ อาทิ ชุมชนลาว ชุมชนจีน และชุมชนไทย จึงเป็นดินแดนที่มีวัฒนธรรมและประเพณีอันเก่าแก่ผสมผสาน และทรงคุณค่าอยู่มากมาย  โดยประเพณีที่สำคัญประเพณีหนึ่ง คือ ประเพณีการทำบุญกลางบ้าน งานบุญกลางบ้านชลบุรีน่าสนใจ ซึ่งประชาชนในพื้นที่ได้ยึดปฏิบัติร่วมกันมานานกว่า 100 ปี ด้วยความเลื่อมใสศรัทธา ตามความเชื่อว่าเมื่อกระทำแล้วจะเกิดสิริมงคล ทำให้ครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น อยู่เย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรือง ตลอดจนเป็นการสะเดาะเคราะห์  สำหรับประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ยังนิยมทำเครื่องจักสาน ซึ่งเป็นงานหัตถกรรมพื้นบ้านที่มีมาแต่เดิม  โดยชาวบ้านจะจักสานเครื่องใช้ในครัวเรือน และเครื่องใช้ในการจับสัตว์น้ำ  และพัฒนาคุณภาพ ฝีมือ รูปแบบและลวดลายให้มีความหลากหลาย ในการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ จนสามารถเป็นสินค้าส่งออกที่ได้รับความนิยมของชาวต่างประเทศ งานบุญกลางบ้านชลบุรีประเพณีไทย ในส่วนของลักษณะการจัดงานนี้นั้น ก็จะมีชุมชนต่างๆ ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน ที่ประกอบไปด้วย ขบวนไทย ลาว จีน ในชุดแต่งกายย้อนยุคตามเชื้อชาติ และการนมัสการพระพนัสบดีพระพุทธรูปสมัยทราวดี อายุกว่าพันปี แห่ไปรอบตัวเมืองพนัสนิคม รวมทั้งการจัดกิจกรรมการประกวดการแต่งกายของชุมชนต่าง ๆ การจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านของแต่ละชุมชน การจำหน่ายขนมพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง สินค้าโอท็อปนานาชนิด อีกทั้งประเพณีดังกล่าวนี้นั้น เป็นอีกหนึ่งการสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชุมชนโดยประชาชนจะร่วมกันนำอาหารคาวหวานเลี้ยงพระสงฆ์ และบวงสรวงเทวดาเพื่อความเป็นสิริมงคล ทั้งนี้  อ.พนัสนิคม มีชื่อเสียงเรื่องเครื่องจักสานไม้ไผ่ ซึ่งในอดีตประชาชนจะอาศัยเวลาว่างที่เหลือจากการทำไร่ทำนา ทำเครื่องจักสานเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน แต่ปัจจุบัน งานบุญกลางบ้านชลบุรีสืบทอดการทำจักสานได้เปลี่ยนแปลง และกลายเป็นสินค้าออกที่สำคัญของ อ.พนัสนิคม สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่จนกลายเป็นอาชีพหลักอีกอาชีพหนึ่งด้วย สำหรับงานหัตถกรรมจักสานพนัสนิคม แต่เดิมมักออกมาในรูปแบบของกระจาด และฝาชี ซึ่งมีความแปลกตาทั้งรูปทรง และลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์ ที่มีการเก็บขอบอย่างประณีตแลดูสวยงาม ต่อมา เมื่อปี พ.ศ.2521 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดำริให้ดำเนินการ โครงการส่งเสริมฝีมือการจักสานด้วยไม้ไผ่ อำเภอพนัสนิคม ตามพระราชดำริ งานบุญกลางบ้าน ชลบุรี น่าสนใจ จัดสอนการจักสานให้แก่ผู้สนใจเป็นกลุ่มๆ และดำเนินการด้านการตลาดให้มีลักษณะคล้ายกลุ่มสหกรณ์ มีรายได้จากการผลิตสม่ำเสมอ จึงรวบรวมผู้มีฝีมือจักสานแล้วจัดตั้งกลุ่มจักสานขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน และผลผลิตเครื่องจักสานที่สมบูรณ์เรียบร้อยส่วนใหญ่ถูกจัดส่งไปจำหน่ายที่ร้านค้าศูนย์ศิลปาชีพ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา ทั้งยังส่งออกไปขายยังหลายประเทศ โดยเฉพาะส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น และอเมริกา ทำรายได้เข้าประเทศมหาศาล

งานบุญกลางบ้านจังหวัดชลบุรี เป็นงานประเพณีที่มีการสืบทอดกันมาช้านานของชาวอำเภอพนัสนิคม ซึ่งจะจัดขึ้นในวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของสัปดาห์แรกเดือนพฤษภาคม หรือเดือน 6 ของไทย งานบุญกลางบ้านชลบุรีประเพณีไทย ชาวบ้านจะนำอาหารมาร่วมกันทำบุญตักบาตร เพื่อขับไล่สิ่งไม่ดี สิ่งที่เลวร้ายออกไป 

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีดังของภาคตะวันออก มีประเพณีที่มีชื่อเสียงเรียงนามไม่น้อยเลย 

วัดดังระยอง วัดสวยไกล้กรุงเทพ แวะทำบุญเสริมมงคลได้ตลอดทั้งปี

Categories
ประเพณี

ประเพณีดังของภาคตะวันออก มีประเพณีที่มีชื่อเสียงเรียงนามไม่น้อยเลย 

ประเพณีดังของภาคตะวันออก

ประเพณีภาคตะวันออก ของไทยมีทั้งหมด 7 จังหวัดประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว ประเพณีดังของภาคตะวันออก แต่ละจังหวัดมีความน่าสนใจในเรื่องของ ประเพณีท้องถิ่นประจำจังหวัดมากมาย เช่น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง ประเพณีดังของภาคตะวันออก โด่งดัง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เห็นแค่ชื่อประเพณีก็น่าสนใจแล้ว เราขอแนะนำว่า ถ้าหากท่านใดต้องการ ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน แบบวิถีไทย ทุกประเพณีของภาคตะวันออกท่านต้องห้ามพลาดเลยทีเดียว

ประเพณีดังของภาคตะวันออก มีสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ แล้วยังมีประเพณีที่เป็นหนึ่งในจุดเด่นที่น่าสนใจ      

ซี่งในแต่ละภาคนั้นล้วนแต่มี ประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาคซึ่งจะเป็นการบ่งบอกถึงวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของภูมิภาคนั้น ๆ ซึ่งส่งต่อมาในรูปแบบรุ่นสู่รุ่น เป็นการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอดีต ประเพณีดังของภาคตะวันออก ของไทย โดยที่บางวัฒนธรรนั้นได้เลือนรางหายไปทางยุคสมัยที่เปลี่ยนผ่านไป ซึ่งการท่องเที่ยวในปัจจุบันได้มีการเล็งเห็นไปถึงจุดนั้น แล้วได้มีการอนุรักษณ์สืบทอดเพื่อส่งต่อถึงคนรุ่นหลัง

ประเพณีดังของภาคตะวันออก
  • เทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธรของจังหวัดฉะเชิงเทรา คงไม่มีใครที่ไม่รู้จักหลวงพ่อโสธร ที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดโสธรวรวิหาร ในจังหวัดฉะเขิงเทราหรือที่นิยมเรียกกันว่าแปดริ้ว ซึ่งเป็นการส่งเสริมขนมธรรมเนียมประเพณีโบราญ 1 ปีจะจัดถึงสามครั้งด้วยกัน โดยกำหนดตามการนับวันตามจันทรคติ คือ งานเทศกาลกลางเดือน 5 ตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่ำจนถึงวันแรม 1 ค่ำ เดือน 5 รวม 3 วัน งานเทศกาลกลางเดือน 12 ระหว่างวันขึ้น 12-15 ค่ำ และวันแรม 1 ค่ำ เดือน 12 รวม 5 วัน งานเทศกาลตรุษจีน ระหว่างวันขึ้น 1-5 ค่ำ เดือน 3 รวม 5 วัน โดยในงานนั้นจะมีกิจกรรมมากมาย ประเพณีดังของภาคตะวันออก ห้ามพลาด ทั้งการร่วมนมัสการและขอพรจากองค์พระพุทธโสธร มีการจัดขบวนแห่ที่ยิ่งใหญ่ตระการตา และยังมีการจัดคอนเสิร์ตจากศิลปินชื่อทั้งทั่วฟ้าเมืองไทย มีร้านอาหาร การละเล่นต่าง ๆ มากมาย ถือเป็น ประเพณีภาคตะวันออก ที่มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดฉะเชิงเทราได้เป็นอย่างดี
  • ประเพณีที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง ก็คือ ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง จุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ ประเพณีดัง ของภาคตะวันออก ของไทย สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่มีที่เดียวในไทย และที่เดียวในโลกเลย
  • และสุดท้ายเป็นประเพณีของจังหวัดปราจีนบุรี นั่นคือ งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ทุกๆ วันที่ 16 เม.ย. ของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้วให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง  โดยเริ่มจากบริเวณศาลเจ้าพ่อพระปรง ม.8 มาตามถนนสุวรรณศร สระแก้ว-กบินทร์บุรี เรื่อยไปตามถนนสาย304 เข้าแยกปากท้องบ้านทุ่งแฝก สู่ตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์ ประเพณีดัง ของภาคตะวันออก ห้ามพลาด โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น ชาวอำเภอกบินทร์บุรีนั้นได้จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านานและโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา 

ประเพณีดัง ของภาคตะวันออก การท่องเที่ยวในปัจจุบัน นอกจากจะท่องเที่ยวตามเทศกาลตาม ประเพณี ของไทยแล้ว ยังมีประเพณีภาคตะวันออก ที่ได้รับการสนใจจากนักท่องเที่ยว เพราะส่วนใหญ่เทศกาลของภาคตะวันออกนั้นจะจัดงานกันอย่างยิ่งใหญ่อลังการ ประเพณีดัง ของภาคตะวันออก โด่งดัง จนเหมือนว่าเป็นการปิดเมืองเพื่อจัดเทศกาลนั้นไปเลยก็ว่าได้ ซึ่งนั้นก็สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศได้เป็นอย่างดี

อ่านบทความอื่น ๆ >> แหล่งท่องเที่ยวชื่อดัง ภาคตะวันออก 

คาเฟ่ระยอง มัดรวมคาเฟ่ยอดฮิต เอาใจหนุมสาวที่ชอบการถ่ายรูป

Categories
ประเพณี

ประเพณีจังหวัดตราด ภาคตะวันออก ที่จัดขึ้นประจำทุกๆปี 

ประเพณีจังหวัดตราด

จังหวัดตราด นั้น ไม่ได้มีหลักฐานปรากฏที่แน่ชัดว่า ประเพณีจังหวัดตราด มีประวัติความเป็นมาอย่างไรตั้งแต่ในอดีต แต่ก็ความเชื่อว่ากันว่าคำว่า “ตราด” น่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า “กราด” อีกที ซึ่งเป็นชื่อของต้นไม้ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการทำไม้กวาดในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง และในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น “ตราด” ยังมีชื่อเดิมเรียกว่า “บ้านบางพระ” อีกด้วย เพราะเป็นเมืองหน้าด่านชายทะเล ประเพณี จังหวัดตราด วัฒนธรรม ที่ไว้รักษาความมั่นคงและอธิปไตยของประเทศนั่นเอง

ประเพณีจังหวัดตราด เมืองเกาะสวยที่งดงามไปด้วยหมู่เกาะน้อยใหญ่เรียงรายมากมาย

ท่ามกลางพื้นน้ำของทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออก โดยมีเกาะช้างเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด และ ประเพณี จังหวัดตราด ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ หมู่เกาะทางฝั่งทะเลตราดถือได้ว่าเป็นทะเลที่น่าเที่ยวมาก เพราะน้ำทะเลสวยใส หาดทรายขาว มีความเป็นธรรมชาติค่อนข้างสูง  นอกจากความสวยงามของหมู่เกาะนับร้อยแล้ว ยังมี ประเพณี จังหวัดตราด ของดี  และน่าสนใจหลายประเพณีด้วยกัน

ประเพณีจังหวัดตราด
  • งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวีที่เกาะช้าง วันที่ 17-21 หรือ วันที่ 23 มกราคม ณ บริเวณอนุสรณ์สถานยุทธนาวีที่เกาะช้าง ฝั่งอำเภอแหลมงอบ ประเพณี จังหวัดตราด งานประจำปี ร่วมกันจัดโดยกองทัพเรือ จังหวัดตราด และอำเภอแหลมงอบ เพื่อระลึกถึงการทำยุทธนาวีของกองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 อันเป็นยุทธนาวีครั้งสำคัญยิ่งของกองทัพเรือไทย ในครั้งนั้น ฝรั่งเศสส่งกำลังทางเรือ ประกอบด้วย เรือลาดตระเวนลามอตต์ปิเกต์เป็นเรือธง เรือสลุบ 2 ลำ และเรือปืน 4 ลำ เข้ารุกล้ำน่านน้ำไทย บริเวณเกาะช้าง จังหวัดตราด เพื่อจะเข้าระดมยิงหัวเมืองชายทะเลทางภาคตะวันออกของไทย เฉพาะเรือลามอตต์ปิเกต์เพียงลำเดียว ก็มีกำลังพลมากกว่ากำลังพลทั้งหมดของกำลังรบทางเรือไทย ที่รักษาการณ์อยู่บริเวณนั้นอันประกอบด้วย เรือหลวงธนบุรี เรือหลวงชลบุรี และเรือหลวงสงขลา ถึงแม้ว่ากำลังรบของไทยจะเสียเปรียบอย่างมาก แต่วีรชนผู้กล้าหาญของไทยก็ยังมีขวัญและกำลังใจอันเข้มแข็ง ได้เข้าขัดขวางผู้รุกล้ำอธิปไตยและทำการต่อสู้อย่างสุดกำลังความสามารถ ยอมสละชีพเพื่อปกป้องแผ่นดินและรักษาเอกราชด้วยความกล้าหาญ ซึ่งเหตุการณ์รบครั้งนั้น กำลังทางเรือของเราที่รักษาการณ์อยู่ สามารถทำให้กำลังทางเรือของฝรั่งเศสได้รับความเสียหาย และต้องล่าถอยไปในที่สุด ในงานมีริ้วขบวนของส่วนราชการ การทำบุญอุทิศส่วนกุศล และลอยมาลายสักการะดวงวิญญาณทหารเรือที่เสียชีวิตในครั้งนั้น นอกจากนี้ยังมีการแสดงนิทรรศการของกองทัพเรือ และส่วนราชการต่างๆ มีมหรสพสมโภชน์ตลอดงาน
  • ตราดรำลึก หากเดินทางมาจังหวัดตราด ไม่ว่าจะไปที่แห่งไหน ก็จะพบธงช้างเผือกโบกสะบัดปลิวไสวลู่ไปตามแรงลมทั่วทั้งสารทิศ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระ เสรี เพราะวันที่ 23 มีนาคม ของทุกปี ชาวตราดถือเป็น “วันตราดรำลึก” เป็น ประเพณี จังหวัดตราด วัฒนธรรม เมื่อครั้งแผ่นดินตราดเคยสูญเสียอิสรภาพ ตกอยู่ภายใต้กาปกครองของฝรั่งเศส เป็นเวลา 2 ปี 6 เดือน 7 วัน”  ธงช้างเผือกถูกลดลงจากยอดเสา เพื่อชักธงชาติฝรั่งเศสขึ้นแทนที่ ตามสัญญาระหว่างรัฐบาลไทยกับฝรั่งเศสเพื่อแลกเปลี่ยนดินแดนจังหวัดจันทบุรีที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสกับดินแดนจังหวัดตราด และเกาะทั้งหลายภายใต้แหลมสิงห์ลงไปจนถึงเกาะกูด ตลอดจนเมืองประจันตคีรีเขตต์ (เกาะกง) กลายเป็นเรื่องเล่าสืบต่อกันว่า ผู้คนที่อยู่ในพิธีนั้นได้นั่งลงกับพื้น แล้วหมอบกราบผืนแผ่นดินตราดอย่างตื้นตันใจว่า ในที่สุดเราชาวตราดก็ได้กลับมาอยู่ใต้ร่มธงช้างเผือก และเป็นคนไทยมาจนตราบเท่าทุกวันนี้อีกครั้ง 
  • งานวันระกำหวาน ผลไม้ และของดีเมืองตราด ประจำปี  ณ บริเวณด่านบ้านท่าจอด ตำบลแสนตุ้ง อำภเอเขาสมิง โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ชื่อเสียงผลไม้ที่มีคุณภาพของจังหวัด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมทางด้านการตลาดให้กับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ และผู้ผลิตสินค้าชุมชน และท้องถิ่นของจังหวัดตราด ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด การจัดงาน ประเพณี จังหวัดตราด ของดี  ดังกล่าวภายในงานมีกิจกรรมที่หลากหลาย ประกอบด้วย การประกวดผลไม้ ทั้งระกำหวาน ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ลองกอง สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง มังคุด และเงาะโรงเรียน พร้อมทั้งการเปิดตลาดนัดผลไม้คุณภาพราคาถูก การแสดงนิทรรศการด้านการเกษตร การประกวดอาหารพื้นบ้าน การประกวดประกอบอาหารคาว ประกวดประกอบอาหารหวานจากผลไม้ การแข่งขันรับประทานผลไม้ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการจัดงานดังกล่าวในปีนี้ได้มีการย้ายสถานที่จัดงานจากปีที่ผ่านมาจัดในพื้นที่อำเภอเมืองตราด ไปจัดในพื้นที่อำเภอเขาสมิงแทน เนื่องจากเป็นพื้นที่ ที่มีสวนผลไม้มากที่สุด และยังเป็นสถานที่จัดงานระกำหวานตั้งแต่ครั้งแรก ประกอบกับเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดตราด

ประเพณี จังหวัดตราด ของเรานั้นตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีหมู่เกาะอันสวยงามท่ามกลางพื้นน้ำของทะเลอ่าวไทยฝั่งทะวันออกแล้ว ก็ยังมีประเพณีขึ้นชื่อต่างๆ มากมาย ให้นักท่องเที่ยวทุกท่านได้ร่วมสนุก เพลิดเพลินไปกับ ประเพณี จังหวัดตราด ประจำปี ของเรา


เที่ยวระยองวันหยุด ปักหยุดที่เที่ยวสุดฟินในช่วงวันหยุด 

แหล่งท่องเที่ยวชื่อดัง ภาคตะวันออก 

Categories
ประเพณี

วันไหลบางแสน ประเพณีก่อกองทรายในช่วงเทศกาลสงกรานต์

วันไหลบางแสน

ที่น่าสนใจ ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี นอกจากจะมีพื้นที่ให้เล่นน้ำอย่างสนุกสนานแล้ว ก็ยังมีกิจกรรมให้ร่วมสนุก วันไหลบางแสน ไฮไลต์ของงานนี้จะอยู่ที่การประกวดก่อพระทรายวันไหลบางแสน ซึ่งจะมีการจัดให้ผู้เข้าประกวดก่อพระทรายบริเวณชายหาดบางแสน วันไหลบางแสนก่อกองทราย  ซึ่งพระทรายแต่ละซุ้ม ก็มีการจัดตกแต่งอย่างงดงามอลังการ ประกอบกับบรรยากาศของท้องทะเลและการตกแต่งแบบไทย ๆ ทำให้ที่นี่กลายเป็นสถานที่จัดงานประเพณีสงกรานต์ที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของไทย นอกจากนี้ภายในงานยังมีกิจกรรมที่น่าสนใจรออยู่อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการทำบุญตักบาตร, การสรงน้ำพระพุทธรูป, การรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ, การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน, การแข่งขันชกมวย ไม่ว่าจะเป็นการทำบุญตักบาตร, การสรงน้ำพระพุทธรูป, การรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ, การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน และอีกเยอะแยะมากมายที่จะทำให้ทุกท่านได้สนุกเพลิดเพลิน

วันไหลบางแสน เป็นงานประเพณีที่ชาวตำบลแสนสุข ได้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยโบราณ 

เดิมเรียกว่า งานทำบุญวันไหล คือ การที่ประชุมในหมู่บ้านต่างๆ ได้มาทำบุญร่วมกันเนื่องในเทศกาลวันสงกรานต์หรือวันปีใหม่ของไทย โดยการนิมนต์พระทุกวัดที่อยู่ในเขตตำบลแสนสุขมาประกอบพิธีสงฆ์ มีการทำบุญ ตักบาตรสรงน้ำ หลังจากนั้นก็เป็นกิจกรรมก่อพระเจดีย์ทราย เล่นสาดน้ำ การละเล่น และกีฬาพื้นบ้าน  งานประเพณีก่อพระทรายวันไหล เป็นงานที่ทางเทศบาลเมืองแสนสุข วันไหลบางแสนจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในช่วงวันที่ 16-17 เมษายนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี และการละเล่นพื้นบ้าน อันดีงามของชาวบางแสน ให้คงอยู่ และเป็นที่รู้จักแพร่หลายตลอดไป โดยเทศบาลฯ ร่วมกับ บริษัทห้างร้านภาคเอกชน และหน่วยงานของรัฐในเขตเทศบาล ได้ร่วมกันจัดงาน ประเพณีอันยิ่งใหญ่นี้ ณ บริเวณชายหาดบางแสน วันไหล บางแสน ก่อกองทราย กิจกรรมในงานประกอบด้วย การประกวดก่อพระเจดีย์ทราย, การทำบุญตักบาตร, สรงน้ำพระพุทธรูป, การละเล่นพื้นบ้าน, รดน้ำสงกรานต์ ตลอดจนการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เช่นการแข่งขันชักเย่อ, การแข่งขันกินข้าวหลาม, การแข่งขันแกะหอยนางรม, การแข่งขันวิ่งเปี้ยว และการแข่งขันตะกร้อรอดห่วง ประเพณีวันไหล สำหรับคนไทยในอดีต นิยมสร้างพระเจดีย์ไว้ในวัด ถือว่าพระเจดีย์เป็นปูชนียสถานสำคัญ วัดทุกวัดจึงมีพระเจดีย์อยู่ในวัด ทั้งขนาดองค์ใหญ่ ขนาดองค์กลาง และขนาดองค์เล็ก พระเจดีย์องค์ ใหญ่ที่สุด วันไหล บางแสน สงกรานต์ นิยมสร้างไว้หลังหลังพระอุโบสถ หรือพระวิหารเพื่อบรรจุพระบรมผสารีริกธาตุ เมื่อนมัสการพระประธานในพระอุโบสถ ก็เท่ากับได้กราบนมัสการพระบรมสารีริกธาตุด้วย สำหรับประเพณีวันไหล เป็นประเพณีไทย ที่ได้ปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี  เป็นการทำบุญในวันเทศการตรุษไทยนั่นเอง เมื่อถึงประเพณีตรุษไทยนี้ รายละเอียดของกิจกรรมการก่อพระเจดีย์ทราย คือการขนทราย หาบทรายมากองสูงแล้วรดน้ำเอาไม้ปั้น กลึงเป็นรูปทรงเจดีย์ ปักธงทิวต่างๆ ตกแต่งกันอย่างวิจิตรบรรจง เพื่อก่อให้ครบ 84,000 กอง เท่าจำนวนพระธรรมขันธ์ เมื่อก่อเสร็จ พระเจดีย์ทรายแต่ละกองก็จะมีธงทิว พร้อมด้วยผ้าป่า ตลอดจนสมณบริขารถวายพระ พระสงค์ก็จะพิจารณาบังสุกุล ทำบุญเลี้ยงพระ วันไหลบางแสนชลบุรี เสร็จก็เลี้ยงคนที่ไปร่วมงาน ทางวัดก็ได้ทรายไว้ สำหรับสร้างเสนาสนะ ปูชนียสถานในวัด หรือถมบริเวณวัดต่อไป พระสงฆ์ซึ่งได้เครื่องปัจจัยไทยธรรมต่างๆ ในเทศกาลตรุษไทย คือ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปกติหลังตรุษไทยไปเล็กน้อยเป็นปลายฤดูร้อนจะย่างเข้าฤดูฝน วัดใดที่อยู่ใกล้ห้วย หนอง คลอง บึง ญาติโยมอุบาสกอุบาสิกาของวัด ก็จะจัดประเพณีก่อพระทรายน้ำไหลขึ้น วิธีการคือ ขุดลอกทรายที่ฝนซัดไหลมาลงรวมให้แข็งอยู่ตามคลอง หนอง บึง เป็นการขนทรายเข้าวัด และเป็นการพัฒนาท้องถิ่นด้วย เมื่อถึงฤดูฝน น้ำฝนจะได้ไหลสะดวก คู คลอง หนอง บึง ไม่ตื้นเขิน หมู่บ้านสะอาด น้ำก็ไหลได้ตามปกติ งานก่อพระทรายน้ำไหล เพื่อก่อองค์เจดีย์พุทธบูชา เพื่อทำบุญเลี้ยงพระ เพื่อความรื่นเริงบันเทิงของ ชาวบ้านด้วยการละเล่นพื้นเมือง เพื่อสามัคคีของคนในหมู่บ้าน ที่ทำบุญเลี้ยงพระแล้วก็ร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน วันไหล บางแสน ก่อกองทราย ด้วยสภาพของบ้านเมืองซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม ความเจริญทางวิทยาการสมัยใหม่ แต่เพื่อเป็นการอนุรักษ์ และส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี และการละเล่นพื้นบ้าน อันดีงามของชาวบางแสนไว้ ให้คงอยู่และเป็นที่รู้จักแพร่หลายตลอดไป

วันไหลบางแสน

งานวันไหลบางแสน เป็นประเพณีก่อพระทรายที่บางแสน ในจังหวัดชลบุรี ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จึงเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวจำนวนมาก ทำให้ในแต่ละปีมีประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าร่วมงานหนาแน่น จึงขอความร่วมมืองดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วันไหลบางแสนชลบุรี การส่งเสียงดัง การทะเลาะวิวาท และช่วยกันรักษาความสะอาด พร้อมทั้งเล่นน้ำสงกรานต์อย่างมีมารยาท ตามประเพณีสงกรานต์ดั้งเดิมของไทย 

อ่านบทความอื่น ๆ >> ประเพณีชลบุรี  จังหวัดที่ควรค่าแก่การมาเที่ยวมากๆ เดินทางก็ง่ายอีกด้วย


จุดเช็คอินระยอง ที่เที่ยวครบทุกสไตล์ในจังหวัดเดียว