Categories
ประเพณี

มาดู จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก ใครชื่นชอบเกี่ยวกับประเพณีต้องรีบอ่าน!!

จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก

เมื่อพูดถึงขนบธรรมเนียมหรือประเพณีท้องถิ่นของภาคต่างๆ ในประเทศไทยแล้วอาจจะมีเยอะนับไม่ถ้วนเลยก็ว่าได้ โดยแต่ละจังหวัดมักสืบทอดประเพณีที่แตกต่างกันไปตามการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่นั้นๆ และจะมีอยู่หลายภาคด้วยกัน ได้แก่ ภาคเหนือ กลาง ใต้ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตก ส่วนภาคที่ต้องการนำเสนอ คือ ภาคตะวันออก ซึ่งเป็นภาคที่เราจะมาแนะนำเกี่ยวกับการ จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก ว่ามีประเพณีใดที่น่าสนใจบ้างในปี 2024 เผื่อคนที่เข้ามาอ่านจะได้รู้จักประเพณีมากขึ้นแล้วเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่ไม่เคยรู้ไปพร้อมๆ กัน ทุกคนสามารถตามมาอ่านต่อได้

สำรวจการ จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก พร้อมเรียนรู้ เข้าใจวัฒนธรรมอย่างง่าย

หลังจากที่เราได้ทำการสำรวจเรื่องประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ทั้งหมดในประเทศไทยแล้วค้นพบว่า วัฒนธรรมไทย 4 ภาคมีอะไรบ้าง รวมถึง ประเพณีของภาคตะวันออกมีอะไรบ้าง ทำให้เกิดความสนใจด้าน วัฒนธรรมภาคตะวันออก มากขึ้นเนื่องจากภาคนี้เป็นภาคที่มีประเพณีสำคัญมากมาย เช่น ประเพณีกองข้าว เป็นต้น ซึ่งแต่ละประเพณีทุกคนล้วนรู้จักคุ้นเคยกันเป็นอย่างดีแต่บางคนอาจจะยังไม่รู้จักประเพณีเหล่านี้สักเท่าไหร่ ดังนั้นเราจะพาทุกคนไปดื่มด่ำกับเอกลักษณ์ของไทย โดยเรารวบรวมข้อมูลแล้ว จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก ไว้ให้ศึกษา ดังนี้

จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก

1. ประเพณีวิ่งควาย

สำหรับประเพณีแรกนี้ เรียกว่า ประเพณีภาคตะวันออก วิ่งควาย เราได้ จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออกไว้อันดับที่หนึ่ง ถือเป็นประเพณีที่อยู่คู่กับคนจังหวัดชลบุรีมานานแสนนานกว่าหนึ่งร้อยปีซึ่งประเพณีนี้จะจัดขึ้นสม่ำเสมอทุกปีของวันพระหรือวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 และประเพณีนี้ก็ช่วยส่งเสริมให้ชาวนากับควายได้ผ่อนคลายพักผ่อนด้วยแถมยังมีการตบแต่งบนตัวควายให้ดูสวยงามเพื่ออวดความอุดมสมบูรณ์รวมทั้งจัดกิจกรรมเจ้าของพาควายวิ่งแข่งขันเลยทำให้ประเพณีวิ่งควายกลายเป็น วัฒนธรรมภาคตะวันออก ที่มีความสำคัญมากนั่นเอง

2. ประเพณีกองข้าว

ประเพณีที่สองนี้ คือ ประเพณีกองข้าว เป็นอีกประเพณีหนึ่งที่อยู่คู่กับคนจังหวัดชลบุรีมาร่วมสามสิบปีแล้ว เป็น วัฒนธรรมภาคตะวันออก เช่นกันซึ่งประเพณีนี้จะจัดขึ้นอย่างสม่ำเสมอทุกปีในช่วงวันสงกรานต์เดือนเมษายนและประเพณีนี้ได้มีการถวายข้าว อาหาร หรือขนมหวานให้ผีวิญญาณ เทวดาได้กินจนอิ่มแล้วหลังจากถวายเสร็จก็จะมีการกินอาหารร่วมกันโดยจะไม่เก็บอาหารที่กินเหลือกลับบ้านตัวเองเด็ดขาด หลังจากนั้นจะมีการละเล่นพื้นบ้านอย่างร้องรำวง นอกจากนี้ยังมีการทำอาหารพื้นบ้านแล้วก็ประกวดแห่รถเพื่อแสดงให้เห็นถึงการสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีของไทยต่อไปเรื่อยๆ 

3. ประเพณีทำบุญแห่บั้งไฟ

ส่วนประเพณีสุดท้ายที่ไม่พูดถึงไม่ได้ คือ ประเพณีทำบุญแห่บั้งไฟ เราได้ จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออกไว้อันดับต่อมา ถือเป็นประเพณีที่คนปราจีนบุรีให้ความสำคัญและจัดขึ้นมานานกว่าห้าสิบปีเช่นเดียวกับสองประเพณีข้างต้นที่ได้นำเสนอไป ซึ่งประเพณีนี้จะจัดขึ้นสม่ำเสมอทุกปีของวันวิสาขบูชาหรือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ณ วัดต้นโพธิ์ ตำบลโคกปีบ อำเภอศรีมโหสถ นั่นเอง โดยประเพณีนี้มีการรำเซิ้งและทำการจุดบั้งไฟขึ้นบนฟ้าเพื่อขอน้ำฝนให้ตกลงมาแล้วช่วยให้เกษตรกรมีน้ำใช้สบายสำหรับทำงานทางเกษตรกรรม ถือว่าเป็น เป็น วัฒนธรรมภาคตะวันออก เช่นเดียวกัน

เรื่อง จัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก แล้วควรต้องศึกษาวัฒนธรรมให้แจ่มแจ้ง

หลังจากที่ทุกคนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก ทั้งหมดแล้วนั้นว่า ประเพณีของภาคตะวันออกมีอะไรบ้าง ต่อมาเราทุกคนเราที่จะต้องทำการศึกษาในเรื่องของวัฒนธรรมภาคนี้ให้มากขึ้น ได้แก่ ความเป็นอยู่ อาชีพ โดยสิ่งที่กล่าวมานี้จำเป็นที่จะต้องทราบเพื่อให้เข้าใจให้ลึกซึ้งก่อนที่จะไปเที่ยวภาคนี้กัน เรามาเริ่มกันเลย ดังต่อไปนี้

– ลักษณะความเป็นอยู่

อย่างแรกเลยชีวิตของคนภาคนี้จะอยู่แบบเรียบง่ายแบบธรรมชาติมาก กินอาหารทั่วไปปกติ โดยจะมีคนเผ่ามอญหรือเขมรเยอะเพราะคนกลุ่มนี้ได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่นั่นเอง การนับถือศาสนาก็นับถือปกติ คือ ศาสนาพุทธ เข้าวัดทำบุญทอดกฐินผ้าป่า และอาจจะมีคนที่นับถือศาสนาคริสต์หรืออิสลามอาศัยอยู่บริเวณภาคนี้ด้วยเล็กน้อยแต่ไม่มากเท่าไหร่ ต่อมาภาษาที่คนภาคนี้ใช้ในการสื่อสาร คือ ภาษาไทย เท่านั้น

– การประกอบอาชีพ

ส่วนใหญ่แล้วคนภาคนี้นั้นมักจะประกอบอาชีพเกี่ยวข้องกับการทำงานประมง เกษตรกรรวมทั้งอุตสาหกรรมโรงงานการผลิตด้วย ดังนั้นจึงจะเห็นได้ว่าเศรษฐกิจของภาคนี้จะดีแล้วก็พัฒนาไปเรื่อยๆ แบบไม่มีที่สิ้นสุดแถมยังเติบโตมากขึ้นทุกวัน

สรุปเกี่ยวกับประเพณีของภาคตะวันออกมีอะไรบ้าง ที่ไม่ควรมองข้าม

หลังจากที่เราได้ให้ความรู้ทุกคนโดยการแนะนำในเรื่องจัดอันดับประเพณีภาคตะวันออก แล้วว่า ประเพณีของภาคตะวันออกมีอะไรบ้าง จึงได้ออกมาเป็น ประเพณีกองข้าว ประเพณีภาคตะวันออก วิ่งควาย และประเพณีทำบุญแห่บั้งไฟ ซึ่งแต่ละประเพณีจะมีการจัดงานขึ้นสม่ำเสมอทุกปี หากใครที่ต้องการไปเที่ยวภาคนี้ก็สามารถอ่านบทความนี้แล้วก็เข้าร่วมกิจกรรมตามที่ได้บอกรายละเอียดไว้ข้างต้น ขอให้ทุกคนเที่ยวอย่างสนุกและทำให้ประเพณีเหล่านี้เป็นที่รู้จักกว้างขวางในอนาคตต่อไปในภายภาคหน้าด้วย

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก ของไทย ให้ดังไกลไปทั่วโลก

คุณเคยสงสัยไหมว่าวัฒนธรรมไทย 4 ภาคมีอะไรบ้าง  ในบทความนี้เราจะพูดถึงการ สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก รวมถึงการใช้ชีวิต , ความเป็นอยู่ , อาหารการกิน และประเพณีภาคตะวันออกตั้งแต่ดั้งเดิม ที่ส่งต่อมาจากรุ่นสู่รุ่น มีจุดเด่นที่น่าสนใจอย่างไรบ้าง ?

สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก

วัฒนธรรมภาคตะวันออกมีประวัติความเป็นมาอย่างไร ?

เราสามารถช่วยกันสืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออกด้วยตัวเองได้ง่าย ๆ โดยเริ่มจากการทำความเข้าใจประวัติความเป็นมาของวัฒนธรรมภาคตะวันออกว่ามีอะไรบ้าง ? ประเพณีภาคตะวันออกแสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนนั้น ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะวัฒนธรรมภาคตะวันออกเกี่ยวกับอาหารประจำท้องถิ่น อาชีพ สภาพภูมิอากาศ การท่องเที่ยว และอื่น ๆ 

วิถีชีวิตของคนภาคตะวันออกในประเทศไทย

“ภาคตะวันออก” เดิมทีเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง เป็นอีกหนึ่งภูมิภาคที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก วัฒนธรรมภาคตะวันออกโดดเด่นในเรื่องอาหาร มีเมนูอาหารที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอยู่ในแต่ละท้องที่ได้เป็นอย่างดี เช่น แกงหมูชะมวง แกงส้มผักกระชับ และปูไข่ตะกายดาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งผลิตผลไม้เมืองร้อนอย่าง ทุเรียน , มังคุด  , สับปะรด ,  เงาะ และลำไย อีกด้วย

สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานมีอะไรบ้าง ?

ภาคตะวันออกมีประเพณีสืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออกที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่นค่อนข้างชัดเจน ภาคตะวันออกมีทั้งหมด 7 จังหวัด ประกอบไปด้วย จังหวัดจันทบุรี , จังหวัดฉะเชิงเทรา , จังหวัดชลบุรี , จังหวัดตราด , จังหวัดปราจีนบุรี  , จังหวัดระยอง และจังหวัดสระแก้ว ซึ่งแต่ละจังหวัดมีวัฒนธรรมภาคตะวันออกที่แตกต่างกัน ดังนี้

สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก
  • เทศกาลวิ่งควาย จังหวัดชลบุรี

“เทศกาลวิ่งควาย” เป็นประเพณีสืบสานวัฒนธรรมของภาคตะวันออก ประจำจังหวัดชลบุรี เป็นประเพณีที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนในชุมชนภาคตะวันออกได้เป็นอย่างดี งานวิ่งควายเป็นวัฒนธรรมอันเก่าแก่ที่จัดขึ้นทุกช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ภายในงานมีการจัดประกวดควายสวยงาม สุขภาพดี และมีการแข่งขันวิ่งควาย นอกจากนี้ยังมีการจัดซุ้มขายของประจำท้องถิ่นอีกด้วย

สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก
  • เทศกาลงานก่อพระเจดีย์ทรายวันไหล หาดบางแสน จังหวัดชลบุรี

“งานก่อพระเจดีย์ทรายวันไหล” เป็นอีกหนึ่งประเพณีภาคตะวันออกที่ได้รับความสนใจจากกลุ่มนักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างชาติเป็นอย่างมาก เพราะจัดช่วงหลังสงกรานต์ในวันที่ 16-17 เมษายนของทุกปี ภายในงานมีการประกวดเจดีย์พระทรายและชกมวยทะเล ซึ่งเป็นการละเล่นตั้งแต่สมัยโบราณ นอกจากนี้ยังมีร้านค้ามากมายที่ออกมาจำหน่ายของกินของใช้ รวมถึงของฝาก ให้กับนักท่องเที่ยวอีกด้วย

  • งานชักพระบาท จังหวัดจันทบุรี

“งานชักพระบาท” เป็นประเพณีสืบสานวัฒนธรรมของภาคตะวันออก ที่จัดขึ้นหลังสงกรานต์เพียง 1 วัน โดยจะจัดขึ้นทุกวันที่ 15 เมษายนของทุกปี ภายในงานมีการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ มีการแห่เกวียนพระบาทไปยังหมู่บ้านของตน ชาวบ้านจะช่วยกันลากเกวียนไปตลอดทาง สร้างความสนุกสนานให้กับชาวบ้านเป็นอย่างมาก นับว่าเป็นวัฒนธรรมภาคตะวันออกที่สืบทอดกันมายาวนานกว่า 100 ปี

  • งานบวงสรวงศาลหลักเมือง จังหวัดสระแก้ว

พิธีบวงสรวงศาลหลักเมือง จังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นประเพณีสืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ภายในงานมีการออกร้าน รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ สาธิตการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และทำพิธีบวงสรวงศาลหลักเมือง เพื่อเป็นสิริมงคลให้กับคนในพื้นที่ เรียกได้ว่าเป็นประเพณีภาคตะวันออกแบบดั้งเดิม ที่ปฏิบัติกันมาอย่างยาวนาน

สืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออก
  • งานทอดผ้าป่ากลางน้ำ จังหวัดระยอง

ปิดท้ายกันด้วยงานทอดผ้าป่ากลางน้ำ ของจังหวัดระยอง ซึ่งเป็นประเพณีสืบสานวัฒนธรรมภาคตะวันออกที่มีมานานกว่า 100 ปี ภายในงานจะมีการนำพุ่มผ้าป่าที่ถูกตกแต่งอย่างสวยงาม ไปปักไว้กลางแม่น้ำประแสร์ หลังจากนั้นจะมีการนิมนต์พระมาชักผ้าป่าตามประเพณีของชาวจังหวัดระยอง ส่วนประชาชนที่ร่วมประกอบพิธีก็จะพายเรือเข้าร่วมกลางแม่น้ำด้วยเช่นเดียวกัน หลังจากเสร็จพิธีจะมีการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เช่น การแข่งพายเรือ แข่งพายกะโล่ และแข่งพายเรือลำไม้ไผ่ เป็นต้น 

บทส่งท้าย

ทั้งหมดนี้คือประเพณีสืบสานวัฒนธรรมของภาคตะวันออก ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เป็นการบอกเล่าจากรุ่นสู่รุ่น และปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน การเที่ยวในงานเทศกาลประจำจังหวัดเช่นนี้ ไม่ได้ให้แค่ความสนุกสนานเพียงอย่างเดียว แต่ยังถือว่าเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของคนในพื้นที่อีกด้วย

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

รวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก ที่โด่งดังและมีชื่อเสียง

รวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก

ภาคตะวันออกประเทศไทยนั้น ประกอบไปด้วยทั้งหมด 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดนั้น ต้องบอกเลยว่า มีความน่าสนใจในเรื่องของ รวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก  ซึ่งเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น ประจำจังหวัดมากมาย เช่น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นต้น ใครที่มาเที่ยวแล้ว  ต้องอย่าพลาดแวะ รวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก งานเทศกาล ต่างๆของเรากันนะ 

รวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก งดงาม สนุกสนาน ไม่แพ้ภาคอื่นๆแน่นอน 

ในการท่องเที่ยวในภาคตะวันออก นอกจากจะมีสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ แล้วยังมีรวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก  ที่เป็นหนึ่งในจุดเด่นที่น่าสนใจต่าง ๆ ซี่งในแต่ละภาคนั้นล้วนแต่มี  ประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาค ซึ่งจะเป็นการบ่งบอกถึงวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของภูมิภาคนั้น ๆ ซึ่งส่งต่อมาในรูปแบบรุ่นสู่รุ่น เป็นการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยที่บางวัฒนธรรมนั้น ได้เลือนรางหายไปทางยุคสมัย ที่เปลี่ยนผ่านไป ซึ่งการท่องเที่ยวในปัจจุบันได้มีการเล็งเห็นไปถึงจุดนั้น แล้วได้มีการอนุรักษณ์สืบทอดเพื่อส่งต่อถึงคนรุ่นหลัง วันนี้เราจึงได้รวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาให้ทุกท่านได้รับชมกัน 

  • มาเริ่มกันที่ประเพณีแรกเลย ต้องบอกก่อนเลยว่ามีที่เดียวในไทย  อีกทั้งยังดังไกลทั่วโลกเลยทีเดียว นั่นก็คือ ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง ซึ่งรวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก วิถีชีวิต ของเรานั้นมีจุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย 
  • มาต่อกันที่ งานสืบสานวัฒนธรรมเบื้องบูรพา และงานกาชาดจังหวัดสระแก้ว วันที่ 14-20 กุมภาพันธ์ 2555 ณ สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ตำบลท่าเกษม อำเภอเมืองสระแก้ว สืบสานงานประเพณีพื้นถิ่น ดินแดนเบื้องบูรพาแหล่งอารยธรรมและประวัติศาสตร์ขอมโบราณ และสานสัมพันธ์ประตูสู่อินโดจีน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว เผยแพร่ประวัติศาสตร์เมือง อนุรักษ์วัฒนธรรมขนบประเพณีอันดีงาม และส่งเสริมการประกอบอาชีพกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น รวมทั้งนำรายได้จากการจัดงานสมทบเข้ากองทุนเพื่อการกุศลของเหล่ากาชาด จังหวัดสระแก้ว ร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน พร้อมใจจัดงานสืบสานวัฒนธรรมเบื้องบูรพา และงานกาชาดจังหวัดสระแก้ว ในวันที่ 14–20 กุมภาพันธ์ 2555 ณ บริเวณสนามกีฬาจังหวัดสระแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว ภายในงานมีกิจกรรมที่น่าสนใจ  
  • และอีกหนึ่งเทศกาลทีเราอยากแนะนำแก่ทุกท่าน นั่นก็คือ งานมหกรรมทุเรียนโลก ของดีจังหวัดจันทบุรี เป็นงาน สืบสานประเพณีภาคตะวันออก  ประจำปี ใครที่เป็นสายทุเรียนบอกเลยว่าห้ามพลาดเลยเชียว ซึ่งเทศกาลนี้นั้นจะจัดในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี ที่บริเวณสวนสาธารณะสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทุ่งนาเชย) อ.เมือง จ.จันทบุรี โดยภานในงานมีการประกวดรถประดับผลไม้ หรือแพผลไม้ การประกวดธิดาชาวสวนการประกวดผลไม้ที่มีชื่อเสียงของภาคตะวันออก โดยมีระยะเวลาจัดงานนาน 1 – 2 สัปดาห์ จัดที่บริเวณสวนสาธารณะสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทุ่งนาเชย) อำเภอเมือง จ.จันทบุรี โดยมีการประกวดรถประดับผลไม้ หรือแพผลไม้ การประกวดธิดาชาวสวนการประกวดผลไม้ที่มีชื่อเสียงของภาคตะวันออก ได้แก่ เงาะ ทุเรียน มังคุด สละ กระท้อน การประกวดสุนัขพันธุ์แสนรู้ การออกร้านจำหน่ายอัญมณี ภายในงานมหกรรมทุเรียนโลกจันทบุรีหลากหลายโซนด้วยกัน ซึ่งแต่ละโซนก็มีความน่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว นับว่าเป็นการ รวมประเพณีในตำนาน ภาคตะวันออก งานเทศกาล ที่นักท่องเที่ยวสายกินต้องไม่พลาดงานเทศกาลเด็ดๆ แบบนี้เป็นอันขาด เพราะถ้ามาเที่ยวจังหวัดจันทบุรีแล้ว ต้องได้กินทุเรียนเมืองจันท์ ใครที่พลาดถือว่ามาไม่ถึง

รวมประเพณีในตำนาน ภาคตะวันออก นอกจากจะมีสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่ขึ้นชื่อมากมายแล้วนั้น ที่นี่ยังมีรวมประเพณีในตำนานภาคตะวันออก ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เป็นหนึ่งในจุดเด่นที่น่าสนใจ และได้รับความสนใจทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเลยก็ว่าได้ 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

มหกรรมวันสุนทรภู่ จัดขึ้นที่จังหวัดระยอง ภาคตะวันออกของประเทศไทย

มหกรรมวันสุนทรภู่

เราเชื่อว่าหลายๆคน คงจะหุ้นหูกับ วันสุนทรภู่ กันมาแล้วบ้าง นับว่าเป็นอีกหนึ่งวัน สำคัญของประเทศไทยที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อรำลึกถึง “สุนทรภู่” กวีเอกด้านวรรณกรรมไทย ผู้สร้างสรรคผลงานอันทรงคุณค่าตลอดชีวิตใน 4 รัชกาล จนได้รับการยกย่องว่าเป็น “กวีสี่แผ่นดิน” และยังได้รับการยกย่องจากยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็น “บุคคลสำคัญด้านวรรณกรรมของโลก” อีกด้วย ซึ่ง มหกรรมวันสุนทรภู่ จะจัดขึ้นในวันที่ 26 มิถุนายน ของทุกปี ณ บริเวณอนุสาวรีย์สุนทรภู่ ตำบลกร่ำ อำเภอแกลง มีการจัดพิธีสักการะ บวงสรวงดวงวิญญาณ และทำบุญอุทิศส่วนกุศล แด่ท่านสุนทรภู่ เพื่อรำลึกและสดุดี สุนทรภู่รัตนกวีของไทย และ มหกรรมวันสุนทรภู่ จังหวัดระยอง ยังเป็นการเผยแพร่เกียรติยศ ผลงานอันเป็นอมตะของสนทรภู่อีกด้วย

มหกรรมวันสุนทรภู่ กวีเอกของโลก  ร่วมระลึกถึง บุคคลำคัญของชาวไทย

การจัดงานวันสุทรภู่นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชน และประชาชนได้ร่วมกัน รำลึกเกียรติคุณ ยกย่องเชิดชูท่านสุนทรภู่ และยังเป็นการส่งเสริม ให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ ได้เห็นและตระหนักถึง มหกรรมวันสุนทรภู่ คุณค่าทางประวัติศาสตร์ รวมไปถึงผลงานของสุนทรภู่ พร้อมทั้งร่วมสืบสานวัฒนธรรม อันดีงานของชาติและเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทยสืบไป นอกจากนี้ มหกรรมวันสุนทรภู่ 26 มิถุนายน ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวอีกด้วย มีการพัฒนาอนุสาวรีย์ ปรับปรุงให้มีความทันสมัย สวยงาม และทำอาคารครอบไม่ให้รูปจำลองสุนทรภู่ตากแดด โดยมุ่งเพื่อให้เป็นแลนด์มาร์ก ที่นักท่องเที่ยวต้องต้องมาแวะถ่ายรูปเช็คอินกัน 

มหกรรมวันสุนทรภู่
  • งาน มหกรรมวันสุนทรภู่ จังหวัดระยอง จัดเป็นประจำทุกปี ในวันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ณ บริเวณอนุสาวรีย์สุนทรภู่ ตำบลกร่ำ อำเภอแกลง มีการจัดพิธีสักการะ บวงสรวงดวงวิญญาณ และทำบุญอุทิศส่วนกุศลแด่ท่านสุนทรภู่ เพื่อรำลึกและสดุดีสุนทรภู่รัตนกวีของไทย และเป็นการเผยแพร่เกียรติยศ ผลงานอันเป็นอมตะของท่าน พร้อมกับส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าใจ ซาบซึ้งในบทกวี และแสดงออกในผลงานตามรูปแบบของท่านสุนทรภู่ โดยภายในงานจะมีกิจกรรมหลากหลาย ได้แก่ การจัดนิทรรศการผลงานของสุนทรภู่ การแสดงละครในวรรณกรรมของสุนทรภู่ การแข่งขันอ่านทำนองเสนาะ และพาเรดตัวละครในวรรณคดี การจำหน่ายสินค้า ผลิตภัณฑ์ราคาถูกของภาคตะวันออก การแสดงแสงเสียงและมหรสพ การประกวดแข่งขันทางวิชาการสำหรับเยาวชนและประชาชน เช่น การแข่งขันอ่านทำนองเสนาะ เป็นต้น การแสดงศิลปวัฒนธรรมจาก 4 จังหวัดภาคตะวันออก รวมถึงการประกวดต่างๆ มากมาย เช่น การประกวดผีเสื้อสมุทร สินสมุทร สุดสาคร เป็นต้น
  • สุนทรภู่เป็นบุคคลสำคัญที่สร้างชื่อเสียงให้จังหวัดระยองเป็นอย่างยิ่ง ชาวจังหวัดระยองจึงได้ร่วมกันสร้างอนุสาวรีย์สุนทรภู่ขึ้นที่ต.กร่ำ อ.แกลง จ.ระยอง และประกอบพิธีเปิด อนุสาวรีย์สุนทรภู่ เมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2513 พร้อมทั้งจัดงาน เพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติคุณของสุนทรภู่ และท่านได้แต่งนิราศจำนวน 9 เรื่องด้วยกัน  ได้แก่ นิราศเมืองแกลง นิราศพระบาท นิราศภูเขาทอง โคลงนิราศสุพรรณ  นิราศวัดเจ้าฟ้า  นิราศอิเหนา  นิราศพระประธม นิราศเมืองเพชร รำพันพิลาป  และนิทาน เช่น  โคบุตร พระอภัยมณี กาพย์พระไชยสุริยา  รวมถึงบทเสภา เช่น ขุนช้างขุนแผน  ตอนกำเนิดพลายงาม บทละคร บทเห่กล่อมและสุภาษิตเป็นจำนวนมาก  โดยนิราศเมืองแกลง เป็นนิราศเรื่องแรก ที่ได้เขียนบันทึกการเดินทางของสุนทรภู่ เมื่อ พ.ศ.2349 เพื่อไปพบบิดาซึ่งบวชเป็นพระอยู่ที่วัดป่ากร่ำ อ.แกลง จ.ระยอง จึงถือว่าเป็นการบันทึกถึงสังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนที่ได้พบเห็นในขณะนั้น นับได้จนถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า 217 ปี เลยทีเดียว 
  • โดยในงานมหกรรมวันสุนทรภู่ ประเพณีไทย ก็จะมีกิจกรรม พิธีบวงสรวงดวงวิญญาณของท่านสุนทรภู่ การแสดง แสง สี เสียง สื่อผสม โดยประชาชนและเยาวชนชาวระยอง นอกจากนี้ยังมีการแต่งกายย้อนยุค การจัดทำอุโมงค์ประดับไฟแอลอีดี การประกวดกิจกรรมของเยาวชน การประกวดธิดานางผีเสื้อสมุทรแปลงกาย การประกวดเดี่ยวปี่ใน การประกวดแต่งบทกลอน รางวัลกวีศรีสุนทร และอื่นๆ อีกมากมายนอกจากนั้น ยังมีหน่วยงานจากส่วนกลาง จะเข้าร่วมกิจกรรมแรลลี่ ท่องเที่ยวตามรอยสุนทรภู่ และการจัดทำหนังสือบทกวีสดุดีสุนทรภู่ ซึ่งกิจกรรมที่ได้จัดขึ้นนี้ก็เพื่อเป็นการรำลึก เชิดชูเกียรติและเผยแพร่เกียรติคุณของท่านสุนทรภู่กวีเอกของโลก ส่งเสริมการกวีของจังหวัดระยองของประเทศชาติ ส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดระยอง และเพื่อสืบสานด้านวัฒนธรรมอันดีงามของจังหวัดระยองและของไทย อีกทั้งในภายในงานยังมี การเปิดร้านอร่อยอาหารพื้นถิ่น ช้อปสินค้าราคาโรงงาน เครือสหพัฒน์ และสวนสนุกชุดใหญ่ รอให้ไปเที่ยว ไปชิม กันจุใจไปเลย

มหกรรมวันสุทรภู่  เป็นงานที่จัดขึ้นที่จังหวัดระยอง เป็นอีกหนึ่งหนึ่งวันของไทย เพื่อเป็นการระลึกและสดุดีสุนทรภู่รัตนกวีของไทย และยังเป็นการส่งเสริม ให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ ได้เห็นและตระหนักถึง มหกรรมวันสุทรภู่ 26 มิถุนายน ที่จัดขึ้นประจำทุกปี ใครที่มีโอกาสได้มาเที่ยวจังหวัดระยองแล้ว ต้องแวะมาเช็คอินสักครั้ง

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

แห่นางแมวแดนปราจีนบุรี ประเพณีที่ชาวบ้านใช้อ้อนวอนขอฝน

แห่นางแมวแดนปราจีนบุรี

จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมายหลายแห่งด้วยกันซึ่ง  แห่นางแมวแดนปราจีนบุรี ของเรานั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ มีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมรดกโลกถึง 3 แห่งด้วยกัน อีกทั้งยังประเพณีต่างๆ ที่สำคัญของคนในจังหวัดอีกด้วย และแน่นอนวันนี้ เรามีหนึ่งประเพณีที่อยากมาบอกต่อ นั่นก็คือ แห่นางแมว แดนปราจีนบุรี ขอฝน บอกเลยว่าไม่น้อยหน้าประเพณีอื่น  และเป็นจังหวัดที่น่ามาท่องเที่ยวมากเลยทีเดียว

แห่นางแมวแดนปราจีนบุรี ประเพณีน่าสนใจ   ผู้คนน่ารัก เหมาะแก่การมาเที่ยวพักผ่อน

ต้องบอกก่อนเลยว่า พิธีแห่นางแมวนั้น ไม่ใช่พิธีที่ทำกันเป็นประจำทุกปี เหมือนสงกรานต์ หรือสารท อันเป็นพิธีกรรม ที่มีวาระกำหนดแน่นอน ซึ่ง  แห่นางแมวแดนปราจีนบุรี เป็นพิธีที่ทำกันเฉพาะ เมื่อยามเกิดความไม่ปกติขึ้น ในชีวิตชาวนา คือฝนแล้ง เพราะสังคมไทยของเรานั้น เป็นสังคมเกษตรกรรม น้ำฝนเป็นปัจจัยสำคัญในการเพาะปลูก เกษตรกรมีความเชื่อว่า “ฝน” เป็นสิ่งที่เบื้องบนประทานลงมา เมื่อใดฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล การเพาะปลูกพืชพันธุ์ดำเนินไม่ได้ จึงต้อง แห่นางแมว แดนปราจีนบุรี ประเพณี และทำพิธีขอฝนหรือทำนายฝนนั่นเอง

  • ประเพณีแห่นางแมว เป็นอีกหนึ่งประเพณีขึ้นชื่อของจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประเพณีที่ชาวบ้านเล่น เพื่อขอให้ฝนตกตรงตามฤดูกาล เพื่อที่ทำให้ชาวนา ชาวไร่ จะได้ทำนากันได้ อย่างไม่มีอุปสรรค ถ้าหากว่าฝนไม่ตก หรือสภาพอากาศแห้งแล้ง เกินกว่ากำหนด ชาวนาบางส่วนก็จะรวมกลุ่มกันเพื่อ  แห่นางแมว แดนปราจีนบุรี ความเชื่อ  ด้วยการเอานางแมวหนึ่งตัวใส่กระชัง หามกันสองคน และเดินแห่ไปตามหมู่บ้านต่างๆ ในช่วงเวลากลางวันหรือไม่ว่าจะเป็นกลางคืนก็ได้ แล้วแต่สะดวกเลย  อีกทั้งยังมีพวกถือพานเอย บ้างก็ถือกระบุง เดินตามขบวน เมื่อชาวบ้านอื่นเห็นขบวนแห่นางแมวผ่านไปแล้ว ก็จะนำน้ำมาสาดนางแมว และรวมไปถึงสาดน้ำใส่พวกขบวนแห่ด้วย แถมยังมีชาวบ้านมอบข้าวสารใส่กระบุง ให้เงินใส่พาน มอบให้กับคนแห่ในขบวน และหลังจากทำกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วนั้น ชาวนาก็จะนำสิ่งของที่ได้มาจากชาวบ้านนำไปถวายแก่วัดเพื่อความเป็นสิริมงคล 
  • เนื่องจากสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม การทำเลือกสวนนา ไร่จำเป็นต้องอาศัยน้ำ จำนวนมาก ดังนั้นหากวันหนึ่ง ฝนที่เคยตกต้องตามฤดูกาลไม่ตกเช่นเคย ย่อมสร้างความเดือนร้อน ให้กับชาวนาชาวไร่ทั่วไป จึงเกิดเป็น พิธี “แห่นางแมว” ขึ้น สำหรับความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีแห่นางแมวนั้น คนไทยมีความเชื่อว่า ฝนตกลงมาเพราะเทวดา เมื่อฝนไม่ตก จึงต้องทำพิธีขอฝนกับเทวดา แต่บางความเชื่อกล่าวว่า จากเมื่อแผ่นดินแห้งแล้ง สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ มีควันและละอองเขม่าควันจะต้องขอน้ำจากเทวดามาช่วยล้างเพราะน้ำฝนเป็นน้ำของเทวดา เนื่องจาก เทโว แปลว่า ฝน นั่นเอง เพราะ ความศรัทธาและความเชื่อนั้น  เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน ตั้งแต่ในสมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวของขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ หรือเรื่องราวความเชื่อ ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามสถานที่สำคัญ โดยเฉพาะเรื่องของประเพณีที่มีมายาวนานแต่โบราณ    แห่นางแมว แดนปราจีนบุรี ขอฝน โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน ที่พื้นดินแข็งกระด้างและแห้งโดยปราศจากน้ำฝนมาหล่อเลี้ยง จึงทำให้เกิดการแห่นางแมวขึ้นมาเพราะด้วยความเชื่อและศรัทธาที่ว่าจะทำให้ฝนตก
  • ในส่วนของวิธีการแห่นางแมวของจังหวัดปราจีนบุรีนั้น  ก็คือจะให้คนในหมู่บ้านมารวมตัวกัน แต่งตัวสวยงาม เมื่อได้เวลาพลบค่ำก็เริ่มขบวนแห่ โดยก่อนการแห่ต้องให้ผู้เฒ่าพูดกับแมวขณะเอาลงกะทอว่า นางแมวเอย …ขอฟ้าขอฝน ให้ตกลงมาด้วยนะ จากนั้นจึงเดินขบวนไปรอบ ๆ หมู่บ้านเพื่อให้เจ้าของบ้านทุกบ้านสาดน้ำให้แมวร้อง เพราะเมื่อแมวร้องแล้วฝนจะตกลงมา ในขณะเดินแห่นั้นต้องให้ผู้เฒ่าผู้แก่กล่าวคำเซิ้งไปด้วย ซึ่งโดยปกติแล้วคำเซิ้ง ของแต่ละพื้นที่มักไม่ค่อยเหมือนกัน แต่สามารถสรุปใจความสำคัญได้ว่า ต้องการขอให้ฝนตกนั่นเอง ซึ่งผู้หญิงที่เข้าร่วมในพิธีแห่ จะผัดหน้าขาว ทัดดอกไม้สดดอกโตๆ ขบวนแห่จะร้องรำทำเพลง ที่สนุกสนานเฮฮา เมื่อขบวนแห่ถึงบ้านไหน แต่ละบ้านต้องออกมาต้อนรับ อย่างเต็มที่ เพราะเกรงว่าแมวจะโกรธ และบันดาลไม่ให้ฝนตกลงมา และมีความเชื่อว่า ถ้าแห่นางแมวแล้วฝนจะตกภายใน 3 วัน 7 วัน นอกจากพิธีแห่นางแมวจะเป็นการช่วยเรียกให้ฝนตกแล้ว ยังถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์กับคนในหมู่บ้านให้แน่นแฟ้นขึ้นอีกด้วย

แห่นางแมวแดนปราจีนบุรี เป็นอีกหนึ่งประเพณีที่ขึ้นชื่อ ที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการอ้อนวอนขอฝนกับเทวดา ให้ฝนตกตรงตามฤดู เพื่อที่จะทำให้ชาวนา ชาวไร่ จะได้ทำนากันได้ อย่างไม่มีอุปสรรค ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้เกิดการ แห่นางแมว แดนปราจีนบุรี ประเพณี นี้ขึ้นมานั่นเอง

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

เที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว สืบสานประเพณีปีใหม่ไทย

วันสงกรานต์ หรือ วันมหาสงกรานต์ นับว่าเป็นวันที่ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลีของประเทศอินเดีย โดยประเทศไทยนั้นได้เปลี่ยนจากการสาดสี เป็นการสาดน้ำ  เนื่องจากประเทศไทยนั้นมีสภาพแวดล้อมที่ร้อนจัดในช่วงเดือนเมษา และในอีกความเชื่อหนึ่งของคนไทยคือ เป็นการปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดีออกไป ทำให้คนนั้นนิยมเล่นกันสาดน้ำ และปะแป้งกันในเทศกาลสงกรานต์นั่นเอง โดยทั่วประเทศไทย นั้นมีวันสงกรานต์มากมายหลากหลายจังหวัด และอีกหนึ่งประเพณีสำคัญที่โด่งดังไปทั่วโลก คือการ เที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว เนื่องจากนักเดินทางหลายคนจะได้รับเล่นสงกรานต์ รวมไปถึงการได้ทำบุญใหญ่สำหรับการเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เที่ยวสงกรานต์แปดริ้วสรงน้ำหลวงพ่อโสธร  ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา รับรองเลยว่าจะเป็นการเริ่มต้นปีใหม่ของคนไทยที่เป็นสิริมงคลให้แก่ชีวิต และถือว่าเป็นจุดหมายปลายทางของนักเดินทางหลายหลายคน เนื่องจากหลวงพ่อโสธรนั้นเป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์ พร้อมทั้งยังมีเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน หากคุณไม่รู้จะไปที่ไหนในวันสงกรานต์ เชิญชวนให้คุณทุกท่านมาสักการะขอพร และมาร่วมทำบุญกันที่ฉะเชิงเทรา รวมไปถึงยังมีกิจกรรมให้นักเดินทางได้เที่ยวชมช้อปปิ้ง รวมไปถึงชิมของดีที่เมืองแปดริ้วได้ด้วย          

เที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว กิจกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของจังหวัดได้

นักท่องเที่ยวที่เดินทางมา เที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว จะได้พบเจอกับบรรยากาศในงานที่แตกต่างไปที่อื่น โดยกิจกรรมส่วนใหญ่ของจังหวัดฉะเชิงเทรา จะมีให้คุณได้รถน้ำดำหัวผู้ใหญ่ ทำบุญตักบาตร และสรงน้ำพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์ ที่เป็นพระคู่บ้านคู่เมืองของคนในพื้นที่ ซึ่งก็คือหลวงพ่อโสธรนั่นเอง โดยประวัติของหลวงพ่อโสธรสำหรับการเล่าขานสืบต่อกันมาว่า เมื่อปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา มีพระพุทธรูปได้ลอยน้ำขึ้นมา 3 องค์ที่แม่น้ำบางปะกง ซึ่งไม่มีใครที่จะสามารถอัญเชิญพระพุทธรูปขึ้นมาบนฝั่งได้เลย ไม่ว่าจะทำยังไงก็ตามอีก ทั้งยังมีปรากฏการณ์ที่ทำให้น้ำปั่นป่วนอย่างน่าประหลาด ทำให้พระพุทธรูปทั้งสามองค์ได้จมหายไปต่อหน้าต่อตา ชาวบ้านทุกคนจึงกลับไหว้ปาฏิหาริย์ในครั้งนั้น ต่อมาพุทธรูปได้ผุดขึ้นมาตามสถานที่ต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็นหลวงพ่อโตบางพลี หลวงพ่อวัดแหลม และหลวงพ่อโสธร ซึ่งได้ประดิษฐานไว้ที่วัดเสาธงทอน หรือวัดโสธรวรารามวรวิหารที่ฉะเชิงเทราที่นี่เอง แน่นอนว่าการเที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว งานบุญประจำปี ก็ได้มีการอัญเชิญให้ทุกๆคนได้กราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ กับสักการะหลวงพ่อโสธร โดยตามความเชื่อของคนในจังหวัดนั้นมาก็สมปรารถนา และประสบความสำเร็จในเรื่องของการค้าขาย มีโชคลาภมีเงินทอง รวมไปถึงสุขภาพที่แข็งแรงสุดๆ การขอบารมีจากหลวงพ่อปกป้องคุ้มครอง จะทำให้ทุกคนหายจากโรคภัยไข้เจ็บ และยังมีประวัติเล่ากันอีกว่าหากผู้ที่มีจิตศรัทธาใช้ขี้ธูป หรือได้บูชาดอกไม้ที่ให้แห้งไปอธิฐานบนหยุดเทียนน้ำมนต์ของหลวงพ่อมาทำยา ก็จะหายจากโรคภัยที่เป็นอยู่ได้ด้วย ซึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทราได้มีการจัดงานสงกรานต์กันแบบครึกครื้นมากมาย มาพร้อมกับกิจกรรมที่ช่วยให้ทุกคนสนุกสนาน รวมไปถึงยังเป็นการเสริมสิริมงคลให้ทุกท่านได้แบบดีงาม  โดยรายละเอียดของการเที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว สรงน้ำหลวงพ่อโสธร ได้มีกิจกรรมกำหนดการดังต่อไปนี้

  • ในวันที่ 13-15  เมษา จะมีการอัญเชิญพระพุทธรูปโสธรจำลองขนาด 29” ออกมาจากวัดและแห่รอบตลาดเมืองแปดริ้ว โดยจะมีเจ้าเอาวาลประพรมน้ำมนต์ตลอดทาง และแจกวัตถุมงคลให้แก่นักท่องเที่ยวผู้มีจิตศรัทธาได้รับ 
  • หลังจากเสร็จขบวนแห่รอบตลาดเสร็จสิ้น จะมีการอัญเชิญพระพุทธะโสธรจำลอง มาประดิษฐานไว้ที่พิพิธภัณฑ์เมืองฉะเชิงเทรา ซึ่งประชาชนสามารถสักการะขอพรหลวงพ่อช้างได้เลย หลังจากนั้นก็จะมีงานเทศกาลสงกรานต์ที่จะมีการค้าขาย และให้ประชาชนได้ร่วมสนุกสาดน้ำกัน
  • เที่ยวสงกรานต์แปดริ้ววันไหล จะมีงานประกวดพระเครื่อง ซึ่งทำให้ประชาชนได้บูชาพระอันศักดิ์สิทธิ์ หากใครเป็นสายมูห้ามพลาดเลยในการร่วมประมูลพระเครื่องต่างๆ ที่มีการจัดงานขึ้น

หากในวันสงกรานต์คุณไม่รู้จะไปไหน เที่ยวสงกรานต์แปดริ้วงานบุญประจำปี ขอให้เป็นตัวเลือกหลัก เพราะนักเดินทางจะได้ร่วมนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สรงน้ำพระที่มีความเป็นสิริมงคลให้แก่ชีวิต และแน่นอนว่าร่วมสนุกกับกิจกรรมต่างๆที่ทางจังหวัดฉะเชิงเทราได้จัดทำขึ้นอีกด้วย รับรองว่าที่นี่จะเป็นจุดมุ่งหมายสำหรับการเดินทางที่ดีมากที่สุด เผื่อสัมผัสกับบรรยากาศใหม่ๆในการเล่นน้ำสงกรานต์ ที่มีการจัดงานยิ่งใหญ่ และ เที่ยวสงกรานต์แปดริ้ววันไหล ที่นักท่องเที่ยวนั้นสามารถมาเล่นน้ำได้ตั้งแต่วันที่ 12 – 16 ประจำเดือนเมษาได้เลย โดยงานวันสงกรานต์แปดริ้วจะมีการจัดอยู่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอเมืองจังหวัดฉะเชิงเทรา มีทั้งงานช่วงกลางวันและช่วงกลางคืน ให้พุทธศาสนิกชน สามารถเข้ามาสักการะสรงน้ำพระ รวมไปถึงการร่วมงานอันอลังการที่จะทำให้คุณนั้นได้สนุกสนาน พบเจอผู้คนมากมายตลอดการท่องเที่ยวสงกรานต์แปดริ้ว มีการสาดน้ำตามถนนในวันสงกรานต์ที่สนุกสนาน รวมไปถึงยังมีการจัดแข่งขันตะกร้อลอดบ่วง การแสดงลิเก พร้อมทั้งมีการแสดงจากเวทีต่างๆให้นักท่องเที่ยวได้รับชมอีกด้วย 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

สืบสาน งานประเพณีกองข้าว จังหวัดชลบุรี  ที่ควรอนุรักษณ์ใว้

งานประเพณีกองข้าว

สำหรับประเพณีกองข้าว เทศบาลเมืองศรีราชานั้น เป็นการ สืบสาน งานประเพณีกองข้าว ท้องถิ่นของจังหวัดชลบุรี ซึ่งชาวบ้านจะนัดหมายกันนำสำรับข้าวปลาอาหารทั้งคาวหวาน มากองรวมกัน และเชิญภูตผีทั้งหลายมากินปีละครั้ง โดยเชื่อว่าภูตผีจะไม่ทำอันตราย ต่อชีวิตและครอบครัว หรือทรัพย์สินของตนเอง หลังพิธีเซ่นไหว้ การ สืบสานงานประเพณีกองข้าว ความเชื่อ  ชาวบ้านจะล้อมวงรับประทานอาหาร มีการร้องรำทำเพลง การละเล่นสนุกสนาน  และทุกคนจะไม่นำอาหารทั้งหมดที่เหลือ กลับบ้าน แต่จะทิ้งไว้เป็นทานแก่สัตว์ทั่วไป

สืบสาน งานประเพณีกองข้าว วัฒนธรรมเก่าแก่ ที่อยู่คู่ชาวชลบุรี ศรีราชา มาอย่างช้านาน

เป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดชลบุรีโดยแท้ที่สืบต่อๆกันมาตามประวัติ เล่าว่าประเพณีกองข้าวจัดในหลายอำเภอ อาทิเช่น อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอศรีราชา อำเภอบางละมุง อำเภอพนัสนิคม ฯลฯ ครั้นกาลเวลาล่วงเลยผ่านไปในบางพื้นที่ประเพณีได้เลือนหายไป ที่ศรีราชายังคงอนุรักษ์ สืบสานงานประเพณีกองข้าว ไว้อย่างต่อเนื่องและเหนียวแน่น จนกระทั่งกลายเป็นประเพณี เอกลักษณ์ของชาวศรีราชา โดยเฉพาะเมื่อ เทศบาลเมืองศรีราชาและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกันจัด สืบสานงานประเพณีกองข้าว  ชลบุรี  เริ่มแต่ปี 2536 เป็นต้นมา โดยกำหนดจัดงานประเพณีระหว่างวันที่ 19 – 21 เมษายน ของทุกปี

  • ในอดีตเมื่อถึงช่วงเทศกาลสงกรานต์ศรีมหาราชาของทุกปีชาวบ้านจะนัดหมายกันมา นำสำรับข้าวปลาอาหารทั้งคาวหวานมากองรวมกันและเชิญภูติผีทั้งหลายมากินปีละ ครั้ง โดยเชื่อว่าภูติผีจะไม่มาทำอันตรายชีวิตครอบครัวหรือทรัพย์สินของตนเองหลัง พิธีเซ่นไหว้ชาวบ้านจะล้อมวงรับประทานอาหารร่วมกันมีการร้องรำทำเพลง การละเล่นสนุกสาน มีเกล็ดว่าทุกคนจะไม่นำอาหารที่เหลือกลับบ้าน แต่จะทิ้งไว้เป็นทานแก่สัตว์ เทศบาลเมืองศรีราชา และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกันจัดงานประเพณีกองข้าว นอกจากการกองข้าวอันเป็นหัวใจของงานแล้ว ยังได้เพิ่มกิจกรรม เพื่อฟื้นฟูอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมอันเป็นสีสันของงาน ไม่ว่าจะเป็น รำวงย้อนยุค มวยตับจาก เพลงพื้นบ้าน ดนตรีไทยประยุกต์ ประกวดเทพีกองข้าว กีฬาพื้นบ้าน และซุ้มอาหารไทย ฯ
  • การจัด สืบสานงานประเพณีกองข้าว ศรีราชา  เป็นการสนับสนุน ส่งเสริม ฟื้นฟู และอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น   ปัจจุบันเทศบาลเมืองศรีราชาได้ผนวกงานสงกรานต์เข้ารวมเป็นงานเดียวกัน และให้ชื่อว่า “ งานสงกรานต์ศรีมหาราชาและประเพณีกองข้าว ” โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมรณรงค์ให้เด็กเยาวชน และประชาชน ได้เกิดจิตสำนึก ในความเป็นคนไทย ที่มีเอกลักษณ์และขนบธรรมเนียมประเพณี การแต่งกายที่ดี ให้ดำรงสืบทอดต่อไป และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย ประเพณีกองข้าวจึงได้รับการยกระดับปรับตัวให้เป็นเอกลักษณ์ประเพณีที่โดดเด่น ชาวศรีราชาทุกคน มีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมและอนุรักษ์ประเพณีกองข้าว ซึ่งนับได้ว่า เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่เหลือเพียงแห่งเดียวในโลก คือที่ ศรีราชา ซึ่งมีลักษณะกิจกรรมดังนี้ เมื่อถึงวันงานกองข้าว บรรดาลูกช้างของเจ้า ซึ่งส่วนมากเป็นผู้หญิงวัยกลางคน จะมาพร้อมกันยังศาลเจ้าพ่อหลักเมือง เพื่อนำผ้าแดงมาแขวนเป็นระบายรอบศาล จัดปูเสื่อด้านหน้าที่ตั้งเจว็ดรูปเทพารักษ์ต่างๆ หลายรูป และมีชื่อเรียกว่าเจ้าพ่อชื่อต่าง ๆ กันแล้วจึงนำขันทองเหลือง 3-4 ใบ ที่เตรียมไว้มาคว่ำลง วางเรียงกันเป็นระยะ และวางหมอนไว้ด้านหลังห่างจากขันแต่ละใบประมาณ 1 เมตร จัดที่ให้พวกพิณพาทย์นั่งอยู่ด้านหนึ่งของศาล แล้วนำหัวหมู ขนมต้นขาว ขนมต้นแดง บายศรีปากชาม ซึ่งจัดใส่โตกมาตั้งไว้บนที่ตั้งซึ่งอยู่ทางบันไดขึ้นด้านหน้าศาล และรอรับหัวหมู บายศรี บอกเลยว่าเป็นงานที่ทุกคนตั้งหน้าตั้งตารอกัน 
งานประเพณีกองข้าว
  • ประเพณีกองข้าวศรีราชา ในปัจจุบันได้กำหนดให้การประกอบพิธีบวงสรวง จัดทำศาลเพียงตา เครื่องเซ่นไหว้ ประกอบด้วย ขนมต้มข้าว ขนมต้มแดง อาหารคาวหวาน ประจำท้องถิ่น คือ ฮือแช่ ก๋วยเตี๋ยวบก งบปิ้ง ขนมเต่า นมกับถั่ว ข้าวสวย และมีบายศรีปากชาม พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีอัญเชิญเทพเทวดาอารักษ์ และภูตผีปีศาจเพื่อมารับเครื่องเซ่นไหว้ โดยจุดธูปคนละ 9 ดอก เซ่นไหว้ร่วมกันเมื่อเสร็จพิธีก็ทำบายศรีสู่ขวัญ เพื่อเป็นสิริมงคล เมื่อเสร็จพิธีกรรม สืบสานงานประเพณีกองข้าว ความเชื่อ ชาวบ้านก็ล้อมวงรับประทานในสำรับ ร่มกันร้องรำทำเพลง ก่อนแยกย้ายกันกลับบ้านก็นำอาหารที่เหลืออยู่ในสำรับทิ้งไว้ ให้ทานแก่สัตว์ โดยจะไม่นำกลับบ้านเด็ดขาด ขั้นตอนการปฏิบัติที่ควรแก่การอนุรักษ์เป็นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้ลูกหลานเป็นผู้ที่มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สร้างความสามัคคีให้ทุกคนในชุมชน มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจอนุรักษ์อาหารพื้นบ้าน สร้างภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างเอกลักษณ์ให้กับชาวศรีราชา

สืบสานงานประเพณีกองข้าว นับว่าเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวศรีราชา  ที่มีการสืบทอดมาตั้งแต่อดีต จนถึงปัจบัน โดยกำหนดจัดงานประเพณีระหว่างวันที่ 19 – 21 เมษายน ของทุกปี ดังนั้นการ สืบสานประเพณีกองข้าว ชลบุรี จึงควรที่จะอนุรักษ์ใว้

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก มัดรวมประเพณียอดฮิต มีชื่อเสียงโด่งดัง

ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก

เมื่อพูดถึงภาคตะวันออก หลายๆท่าน อาจจะคุ้นหู้คุ้นตากันมาแล้วบ้าง เพราะภาคตะวันออกของเรานั้น มีสถานที่ท่องเที่ยว ยอดนิยมอยู่หลายแห่งด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นที่ท่องเที่ยวเชิงทะเล ธรรมชาติ น้ำตก พิพิธภัณฑ์ และเอื่นๆ อีกมากมาย แต่เราอยากจะบอกกับทุกคนว่า จังหวัดของเรานั้น ไม่ได้มีดีแค่ทะเลสวย ที่เที่ยวเด็ด เพราะถ้าใครรู้จักและคุ้นเคยกับภาคตะวันออกอย่างดี ก็จะรู้ว่าที่นี่มี ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก มีประเพณีที่หลากหลายรูปแบบ และมีการจัดที่ยิ่งใหญ่สวยงาม ไม่แพ้ภาคอื่นๆ เลยทีเดียว เพราะ ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก  ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่นับว่าเป็นอีกหนึ่งแหล่ง วัฒนธรรมประจำชาติไทยที่ คนทั่วโลกรู้จัก ไม่ว่าจะเป็น ประเพณี วันไหลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรือการแข่งขันวิ่งควายของจังหวัดชลบุรีเป็นต้น นอกจากที่จังหวัดชลบุรีแล้วยังมีจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันออกของไทยที่มีงานเทศกาลที่สะท้อนขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงานของชาติอีกมากมาย 

ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก สวยงาม ยิ่งใหญ่ อลังการ สมคำร่ำลือ

ภาคตะวันออกของไทยมีทั้งหมด 7 จังหวัด ประกอบไปด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดมีความน่าสนใจในเรื่องของประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก ประจำจังหวัดมากมาย ไม่ส่าจะเป็น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นต้น วันนี้เราได้คัดรวม ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออกเทศกาล ที่เด็ดๆ และน่าสนใจ มาให้ทุกท่านได้ชมกัน ถ้าพร้อมแล้วไปชมกันเลย

  • มาเริ่มแรกกันที่ งานประเพณี กองข้าว สงกรานต์ศรีราชา ซึ่งจัดขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ 19 – 29 เมษายน พุทธศักราช  2565 เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวและรักษาประเพณีกองข้าวในเทศกาลสงกรานต์ให้สืบอยู่ต่อไป  ประเพณีกองข้าว” ถือว่าเป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดชลบุรีที่สืบทอดกันมาแต่อดีตกาล ซึ่งประเพณีกองข้าวถูกจัดขึ้นในหลายอำเภอของจังหวัดชลบุรี ทั้งในอำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอพนัสนิคม เป็นต้น โดยเมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปีชาวบ้านจะนำข้าวปลาอาหารคาวหวานมากองรวมกันไว้ และเชิญวิญญาณทั้งหลายให้มารับประทาน เนื่องจากขาวบ้านมีความเชื่อว่า วิญญาณเหล่านี้จะไม่ทำร้ายชีวิต และทรัพย์สินของตนเอง หลังจากการทำพิธีเสร็จแล้ว ชาวบ้านก็จะร่วมกันรับประทานอาหาร มีการละเล่นครื้นเครง และชาวบ้านจะไม่นำอาหารที่นำมาร่วมพิธีกลับ เมื่อรับประทานไม่หมดก็จะนำแจกจ่ายให้แก่สัตว์ต่าง ๆ ในบริเวณนั้น
  • ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุเป็นประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก วัฒนธรรม ในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ หรือวันขึ้นปีใหม่ของไทย คือระหว่างวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี แต่ใหญ่จะกระทำกันในวันสุดท้ายของเทศกาลสงกรานต์ เพียงวันเดียวหรือวันเถลิงศก การรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุเป็นประเพณีที่แสดงถึงความเคารพนบน้อมต่อบิดามารดา ผู้ใหญ่ หรือผู้มีพระคุณ เป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ของผู้น้อยและขอขมาลาโทษที่ผู้น้อยอาจเคยล่วงเกินผู้ใหญ่ อีกทั้งเป็นการขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคล แก่ตนเองตลอดไป ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ ถือว่าเป็นประเพณีที่ดีงามอีกประเพณีหนึ่ง ที่ประชาชนชาวไทยถือปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนาน โดยบุตรหลานของผู้สูงอายุไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็จะกลับมาบ้านเกิดเพื่อรวมตัวกัน ซึ่งถือเป็นวันครอบครัวเป็นวันรวมญาติ และจะพากันไปขอขมาลาโทษ รดน้ำดำหัวและขอพรจากผู้สูงอายุ โดยเฉพาะบิดามารดาก่อนที่จะไปขอขมาและรดน้ำดำหัว และขอพรจากผู้สูงอายุคนอื่น ๆ ซึ่งเป็นการแสดงความเคารพ การแสดงถึงความกตัญญูกตเวทิตาคุณ หลังจากนั้นจะมีการกินเลี้ยงสังสรรค์ คุยกันอย่างสนุกสนาน
  • ปิดท้ายกันที่ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นประเพณีโด่งดังภาคตะวันออก  ภูมิปัญญา ที่มีการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ   ซึ่งอพยพมาจากเวียงจันทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ซึ่งเรียกตัวเองว่า “ชาวลาวเวียง” ปัจจุบันตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา “บุญข้าวหลาม” เป็นการทำบุญถวายข้าวหลาม ขนมจีนน้ำยาป่าแด่พระภิกษุสงฆ์ วัดหนองบัว วัดหนองแหน ซึ่งอยู่ในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ประเพณีนี้มีในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3ของทุก ปี เหตุที่ถวายข้าวหลามนั้น อาจเป็นเพราะเดือน 3 เป็นฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา จึงนำข้าวอันเป็นพืชหลักของตนที่ได้จากการเก็บเกี่ยวครั้งแรก ซึ่งเรียกว่าข้าวใหม่ จะมีกลิ่นหอมน่ารับประทานมาก นำมาทำเป็นอาหาร โดยใช้ไม้ไผ่สีสุกเป็นวัสดุประกอบในการเผา เพื่อทำให้ข้าวสุก เรียกว่า “ข้าวหลาม” เพื่อนำไปถวายพระภิกษุ

ประเพณีโด่งดัง ภาคตะวันออก  ซึ่งประกอบไปด้วย7 จังหวัดด้วยกัน แต่บอกเลยว่ามีแต่ประเพณีที่น่าสนใจ ยิ่งใหญ่ สวยงาม ไม่แพ้จังหวัดอื่นเลยทีเดียว เพราะฉะนั้นใครที่มาเที่ยวนี่ที่แล้ว ต้องห้ามพลาด ประเพณีโด่งดังภาคตะวันออกเทศกาล ของเรากันด้วยนะ รับรองไม่ผิดหวัง 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

รวมของดีประเพณีตะวันออก อยากรู้ต้องมาลอง นับรองไม่ผิดหวัง

ประเพณีภาคตะวันออก เป็นอีกหนึ่งแหล่งวัฒนธรรม ประจำชาติไทย ที่คนทั่วโลกรู้จัก เพราะที่นี่ได้ รวมของดีประเพณีตะวันออก ที่ขึ้นชื่อมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ประเพณี วันไหลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรือการแข่งขันวิ่งควายของจังหวัดชลบุรีเป็นต้น นอกจากจังหวัดชลบุรีแล้วยังมีจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันออกของไทยที่มีงานเทศกาลที่สะท้อนขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงานของชาติอีกมากมาย บอกเลยว่าประเพณีแต่ละจังหวัดนั้น มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและลงตัวมากๆ วันนี้เราจะพาทุกท่านไปชมความสวยงามที่หลากหลาย  ที่เราได้คัดสรร รวมของดีประเพณีตะวันออก วัฒนธรรมไทย มาให้ทักท่านได้ชมไปพร้อมๆกัน 

รวมของดีประเพณีตะวันออก สวยงาม และยังคงเอกลักษณ์ วิถีชีวิตดั้งเดิมของไทยใว้ 

ประเพณีภาคตะวันออก เป็นสิ่งที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในชุมชนนั้น ๆ ที่ได้สืบต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งโดยมากแล้ว รวมของดีประเพณีตะวันออกจะมีการกำหนดเวลาจัด ในแต่ละปีที่ค่อนข้างแน่นอน แต่ในปัจจุบันในช่วงที่วิกฤตโควิดกำลังระบาดอยู่นั้น บางเทศกาลก็ได้มีการเลื่อนไปอย่างไม่มีกำหนดอย่างเช่น งานวันไหลของจังหวัดชลบุรี งานเค้าท์ดาวน์ที่จะเกิดขึ้นที่แหลมแท่นบางแสนเพื่อส่งท้ายปี  นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของเทศกาลที่ได้ถูกยกเลิกไปแล้วบ้าง แต่ก็ยังคงมี รวมของดีประเพณีตะวันออกภูมิปัญญาท้องถิ่น หลายๆ เทศกาลที่จัดต่อเนื่องทุกๆปี และมีการอนุรักษ์มาจนถึงปัจจุบัน บอกเลยว่าแต่ละเทศกาลนั้นคึกครื้น และสนุกสนานเป็นอย่างมาก

  • ประเพณีวันเกษตรกรทำบุญกลางทุ่งไถ่ชีวิตควาย ประเพณีที่รำลึกถึงโดยประเพณีวันเกษตรกรทำบุญกลางทุ่งไถ่ชีวิตควาย จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในเดือนพฤษภาคม ช่วงวันพืชมงคล โดยในทุกปีชาวนาตำบลเทพราช เกษตรอำเภอบ้านโพธิ์และเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ร่วมกันจัดประเพณีอันงดงามนี้ขึ้น ในวันงานจะมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย ประเพณีวันเกษตรกรทำบุญกลางทุ่งไถ่ชีวิตควายประเพณีที่รวบรวมวัฒนธรรมชาวนา  มีทั้งการแข่งขันไถนาที่ท้องนา การแสดงนิทรรศการการเกษตรเพื่อให้ความรู้แก่ชาวบ้านและผู้ที่สนใจ มีการร่วมประชุมสภาชาวนา รวมถึงการทำบุญกลางทุ่งนา และในตอนกลางคืนจะมีการแสดงโชว์ต่างๆ ขึ้น ทั้งการละเล่นพื้นบ้าน การแสดงศิลปะพื้นบ้าน
รวมของดีประเพณีตะวันออก
  • มาต่อกันที่ ประเพณีทำบุญกลางทุ่งจังหวัดระยอง  ซึ่งประกอบไปด้วย2 อย่างด้วยกัน นั่นก็คือ การทำบุญขอฝน และทำบุญข้าวใหม่หรือทำบุญข้าวหลาม จัดขึ้นช่วงเดือนสาม หลังเก็บเกี่ยวข้าวในนาแล้ว การทำบุญข้าวใหม่นั้นทำเพื่อรับขวัญข้าวใหม่ที่เก็บเกี่ยวเสร็จ ถือเป็นงานมงคลประจำหมู่บ้านและเป็นการสร้างขวัญ กำลังใจให้แก่ชาวนาอีกด้วย เมื่อถึงวันงานชาวบ้านจะนิมนต์พระมาสวดมนต์ที่ปะรำพิธีกลางทุ่งนา เรียกว่าสวดมนต์เย็น พอรุ่งเช้าก็จะร่วมกันทำบุญตักบาตรแล้วกลับบ้านไปเผาข้าวหลามที่ได้เตรียมกันไว้ ซึ่ง รวมของดีประเพณีตะวันออกวัฒนธรรมไทย  ของเรานั้น เมื่อถึงวันรุ่งขึ้นชาวบ้านจะนำอาหารและข้าวหลามมาทำบุญเพราะเชื่อว่าเป็นการทำบุญสะเดาะเคราะห์ หลังจากพระฉันภัตตาหาร และสวดมนต์เรียบร้อยแล้ว ชาวนาก็จะนำกากหมากออกไปทิ้งไว้ข้างทางเพื่อให้ผีไม่มีญาติได้กินกัน เมื่อตกกลางคืนก็จะมีการทำกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะแสดงลิเก ภาพยนตร์ วงดนตรี
  • และอีกหนึ่งประเพณีสุดท้าย  ที่ทุกท่านไม่ควรพลาด ประเพณีวิ่งควาย เป็นการ  รวมของดีประเพณีตะวันออกงานเทศกาล ประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ ของจังหวัดชลบุรี ที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง ประเพณีดังภาคตะวันออก วัฒนธรรม  ของเรานั้นมีจุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ ชลบุรีประเพณีดัง ทางภาคตะวันออก สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่มีที่เดียวในไทย และที่เดียวในโลกเลย ต้องมาสัมผัสบรรยากาศนี้ให้ได้สักครั้งในชีวิต

รวมของดี ประเพณีตะวันออก  จากที่กล่าวมาข้างต้น นอกจากที่นี่จะมีแหล่งท่องเที่ยว ขึ้นชื่อมากมายแล้ว  ยังมีประเพณีต่างๆ น่าสนใจ หลากหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่ง รวมของดีประเพณีตะวันออกภูมิปัญญาท้องถิ่น ของแต่ละจังหวัดนั้น ก็จะมีเอกลักษณ์ที่สะท้อนความเป็นไทย ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงานของชาติอีกมากมาย 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

สืบทอดประเพณีชาวชล จังหวัดทางของภาคตะวันออกของประเทศไทย

สืบทอดประเพณีชาวชล

ทุกท่านอาจจะคุ้นหูกับคำว่าจังหวัดชลบุรีกันมาบ้างแล้ว แต่วันนี้เราจะพาเหล่านักท่องเที่ยวทุกท่าน มาทำความรู้จักกับ สืบทอดประเพณีชาวชล ให้ทุกท่านได้รู้มากยิ่งไปอีก ว่าจริงๆ แล้ว จังหวัดของเรามีดีอย่างไงบ้าง ชลบุรีนั้นเป็นจังหวัด หนึ่งในภาคตะวันออก ของประเทศไทย ชลบุรีประเพณีดัง อีกทั้งยังมีชุมชนเมืองที่เป็นศูนย์กลางของจังหวัดนั่นก็คือ เทศบาลเมืองชลบุรีนั้นมีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ แถมยังมีเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ คือ เมืองพัทยาอีกด้วย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้ว ยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก ทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมไปถึงการสืบทอดประเพณีชาวชล วัฒนธรรม ต่างๆ ที่น่าสนใจไม่แพ้ที่ท่องเที่ยวอื่นๆเลยทีเดียว ด้วยเหตุจึงทำไห้จังหวัดของเราเป็นที่นิยมสำหรับนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวท่างชาติที่เดินทางกันเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย

สืบทอดประเพณีชาวชล ที่มีมาตั้งแต่อดีตกาล และควรค่าแก่การอนุรักษ์ใว้ 

อย่างที่ทุกท่านทราบกันดีอยู่แล้วว่าจังหวัดชลบุรีของเรานั้นเป็นเมืองขึ้นชื่อแห่งการท่องเที่ยว มีแหล่งท่องเที่ยวที่ขึ้นขื่อหลายแห่งด้วยกัน รวมทั้งมีการ สืบทอดประเพณีชาวชลต่างๆ  มากมายที่น่าสนใจหลายประเพณีเลยทีเดียว ซึ่งแต่ละประเพณีนั้นก็จะมีเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างกันออกไป และแน่นอนว่าเมื่อใครได้มาสัมผัสต้องตื่นตาตื่นใจเป็นอย่างมาก วันนี้ สืบทอดประเพณีชาวชลท้องถิ่น ของเราเลยอยากที่จะมาบอกต่อมนตร์เสน่ของประเพณีไทยให้ทุกท่านได้ชมกัน 

  • มาเริ่มกันที่ประเพณีแรก ที่บอกเลยว่ามีหนึ่งเดียวในไทย และหนึ่งเดียวในโลก นั่นก็คือ ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในการสืบทอดประเพณีชาวชล ดั้งเดิม อันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง ประเพณีดังภาคตะวันออก ที่ขึ้นชื่อ ของเรานั้นมีจุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรสนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่มีที่เดียวในไทย และที่เดียวในโลกเลย
  • พอถึงเดือนเมษายน อากาศในเมืองไทยก็ยิ่งร้อนขึ้น แต่คนโบราณนั้นเข้าใจคิดประเพณีสงกรานต์ไว้คลายร้อน และถือเป็นวันปีใหม่ของไทย ประเพณีสงกรานต์ในภาคกลาง มักจะเล่นกันระหว่างวันที่ 13-14-15 ของเดือนเมษายน ส่วนในภาคตะวันออกนั้นจะแตกต่างจากที่อื่นคือ จะเริ่มเล่นสาดน้ำกันประมาณวันที่ 16 หรือ 17-18-19 เมษายน โดยเรียกกันว่า “วันไหล”
    สำหรับเมืองพัทยา ได้กำหนดจัดงานวันไหลในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี โดยมีการสืบทอดประเพณีชาวชล วัฒนธรรม กิจกรรมต่างๆ เช่น พิธีรดน้ำดำหัว ขบวนแห่วันไหล การสาดน้ำกันอย่างสนุกสนานของประชาชน และ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยชาวต่างประเทศ เป็นต้น
สืบทอดประเพณีชาวชล
  • มาปิดท้ายที่ ประเพณีกองข้าว ถือว่าเป็นการ สืบทอดประเพณีชาวชลท้องถิ่น ของจังหวัดชลบุรีที่มีมาตั้งแต่อดีตกาล ซึ่งประเพณีกองข้าวถูกจัดขึ้นในหลายอำเภอของจังหวัดชลบุรี ทั้งในอำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอพนัสนิคม เป็นต้น โดยเมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปีชาวบ้านจะนำข้าวปลาอาหารคาวหวานมากองรวมกันไว้ และเชิญวิญญาณทั้งหลายให้มารับประทาน เนื่องจากขาวบ้านมีความเชื่อว่าวิญญาณเหล่านี้จะไม่ทำร้ายชีวิตและทรัพย์สินของตนเอง หลังจากการทำพิธีเสร็จแล้ว ชาวบ้านก็จะร่วมกันรับประทานอาหาร มีการละเล่นครื้นเครง และชาวบ้านจะไม่นำอาหารที่นำมาร่วมพิธีกลับ เมื่อรับประทานไม่หมดก็จะนำแจกจ่ายให้แก่สัตว์ต่าง ๆ ในบริเวณนั้น ภายในบริเวณงานมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งบูธสินค้าขายสินค้าเป็นจำนวนมากทั้งอาหารคาวหวาน และสินค้าต่าง ๆ มากมายที่สามารถจับจ่ายใช้สอยได้ในราคาย่อมเยา บอหเลยว่าเป็นอีกหนึ่งประเพณีที่น่าสนใจมาก และที่สำคัญมีของกินอร่อยๆ เพียบ

สืบทอดประเพณีชาวชล เป็นเมืองท่องเที่ยวยอดฮิตสำหรับขาวไทยและชาวต่างชาติเลยก็ว่าได้ อีกทั้งยังมี สืบทอดประเพณีชาวชลดั้งเดิม มากมายหลายประเพณี บอกเลยว่าแต่ละประเพณีน่าตื่นตาตื่นใจมากเลยทีเดียว   

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย