Categories
ประเพณี

วิ่งควายประเพณีเดียวในโลก เอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรี

ประเพณีวิ่งควายที่ชลบุรีเป็นงานที่มีเอกลักษณ์ น่าตื่นเต้นที่มีประวัติอันยาวนานและน่าสนใจ ย้อนกลับไปในสมัยโบราณ ประเพณีนี้เป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมท้องถิ่น และได้พัฒนาเป็นงานประจำปียอดนิยม ที่ดึงดูดทั้งคนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว วิ่งควายประเพณีเดียวในโลก ถือว่าเป็นประเพณีที่เกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม โดยตกทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ 151 ปีที่แล้วจนมาถึงในปัจจุบัน โดยจุดมุ่งหมายของการแข่งวิ่งควายนั้น เพื่อให้ชาวบ้านได้เตรียมของไปถวายวัดปัจจัยไทย ทำได้พักผ่อน และได้สังสรรค์ระหว่างชาวบ้านด้วยการ ที่เหนื่อยจากการทำงาน และให้ควายของตนได้พัก เนื่องจากได้เหนื่อยล้าในการตรากตรำทำนามาเป็นเวลานานนั่นเอง ซึ่งประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีของจังหวัดชลบุรี โดยโด่งดังมากๆเป็นที่รู้จักทั่วโลกทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ แน่นอนว่าหากพูดถึงการต้นกำเนิดของประเพณีวิ่งควายหลายหลายตำนานกล่าวไว้มากมาย มีความเชื่อว่าถ้าปีไหนไม่มีการวิ่งควาย ปีนั้นกลัวควายของประชาชนจะเกิดโรคระบาดเจ็บป่วยจำนวนมาก ซึ่งได้มีการจัดทำประเพณี วิ่งควายประเพณีเดียวในโลก ของคนไทย  สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน แสดงให้เห็นถึงความผูกพันแน่นแฟ้นระหว่างชาวนาไทย และควายไทย รวมไปถึงอาชีพเกษตรกรรมทำนาของคนไทยด้วย

วิ่งควายประเพณีเดียวในโลก งานใหญ่ของชาวชลบุรี

ประเพณีวิ่งควายในจังหวัดชลบุรีไม่ได้เป็นเพียงปรากฏการณ์ที่น่าตื่นเต้นเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องพิสูจน์ถึงประเพณี และคุณค่าของวัฒนธรรมที่หยั่งรากลึกชุมชนท้องถิ่น ทำหน้าที่เป็นเครื่องเตือนใจถึงบทบาทสำคัญ ที่กระบือมีต่อประวัติศาสตร์ และการเกษตรของภูมิภาค ในปัจจุบันนั้นเทศกาลเมืองชลบุรียังคงสืบสานประเพณีนี้เอาไว้ เนื่องจากการจัดทำการแสดงวิ่งควายประเพณีเดียวในโลก โดยไม่ได้มีเพียงแค่การแข่งวิ่งควายเท่านั้น เพราะกาดเป็นงานมหกรรมขนาดใหญ่ โดยในทุกๆปีประเพณีวิ่งควายมีการเฉลิมฉลองผ่านเทศกาลวิ่งควายชลบุรีประจำปี ซึ่งจะเกิดขึ้นในเดือนตุลาคม เทศกาลนี้ดึงดูดผู้ชมหลายพันคนที่มาชมการแข่งขันอันน่าตื่นเต้น  และสัมผัสกับบรรยากาศที่มีชีวิตชีวาจะจัดทำขึ้นหลังวันออกพรรษา 1 วัน  โดยไฮไลท์ของงานวิ่งควายประเพณีเดียวในโลก กิจกรรมภาคตะวันออก  ในแต่ละครั้งที่ได้มีการจัดแสดงนั้น มีดังต่อไปนี้

  • ในช่วงเช้าจะมีวิธีการแห่ขบวนวิ่งควายประเพณีเดียวในโลก ของคนไทย จะมีการจัดตกแต่งอย่างสวยงาม โดยเทศกาลวิ่งควายนั้น จะไม่ได้มีแค่ความสนุกเพียงอย่างเดียว เพราะจะมีการประกวดควายสุขภาพดี ตลอดไปจนถึงการประกวดการตกแต่งความสวยงามในระหว่างเทศกาล ควายจะได้รับการตกแต่งอย่างสวยงาม และแห่ไปตามถนนก่อนที่การแข่งขันจะเริ่มต้นขึ้น รวมไปถึงยังมีการร่วมเดินขบวน สำหรับนักเรียนในจังหวัดชลบุรีด้วย  จะเริ่มเคลื่อนขบวนไปโดยรอบเขตเมืองเก่า ก่อนที่จะมาจบในบริเวณลานหน้าศาลากลางประจำจังหวัดชลบุรี เป็นจุดที่แข่งขันการวิ่งควายนั่นเอง
  • การแข่งขันวิ่งควายจะจัดขึ้นทำขึ้นในช่วงบ่าย มีการกำหนดจุดเริ่มต้น และเส้นชัยอย่างชัดเจน โดยควายที่ร่วมแข่งขันจะต้องมีเจ้าของขึ้นเป็นผู้ควบคุมอยู่บนหลังควาย โดยการวิ่งควายประเพณีเดียวในโลก กิจกรรมภาคตะวันออก  มีกติกาง่ายๆ คือหากควายตัวใดถึงเส้นชัยก่อน ก็ถือว่าเป็นผู้ชนะการแข่งขัน ไม่ได้เกี่ยวกับความเร็วเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวกับทักษะและความว่องไวด้วย เจ้าของต้องต้อนควายผ่านสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ในขณะที่รักษาสมดุล และการควบคุมการแข่งขันเป็นไปอย่างเข้มข้น และน่าตื่นเต้น เนื่องจากทั้งเจ้าของและควายต่างทุ่มเทอย่างเต็มที่ เพื่อไปให้ถึงเส้นชัย โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นตามลักษณะของฟันน้ำนม และฟันแท้ของควาย 
  • ซึ่งความสนุกสนานของการวิ่งควายประเพณีเดียวในโลก ของชลบุรี คือกระบือไม่ใช่เป็นสัตว์ที่ถูกฝึกมาเพื่อแข่งขัน ดังนั้นผู้ชมจึงต้องส่งแรงใจช่วยให้ควายเข้าเส้นชัย ซึ่งมีหลายครั้งที่เจ้าของทรงตัวไม่อยู่ จนตกหลังควาย สร้างเสียงหัวเราะให้แก่ผู้ชมและประชาชนบริเวณนั้น เป็นจำนวนมาก เมื่อเวลาผ่านไปประเพณีวิ่งควายได้รับความนิยม และกลายเป็นงานวัฒนธรรมที่สำคัญในจังหวัดชลบุรี การแข่งขันไม่ได้ถูกมองว่าเป็นการแข่งขันเท่านั้น แต่ยังเป็นวิธีการให้เกียรติ และเฉลิมฉลองการทำงานหนัก และคุณูปการของควายที่มีต่อชุมชน
วิ่งควายประเพณีเดียวในโลก

ประเพณีวิ่งควายจึงถือว่าเป็นประเพณีที่สะท้อนถึงภูมิปัญญา และอัตลักษณ์ รวมไปถึงความเชื่อของชาวชลบุรีได้เป็นอย่างดีและ เพื่อเป็นการให้ควายของตนเองนั้นได้ออกกำลังกาย ได้มีสุขภาพที่ดีพร้อมในการทำนาในฤดูกาลต่อไปนั่นเอง หลายปีผ่านไปวิ่งควายประเพณีเดียวในโลก ยังคงพัฒนาและปรับเปลี่ยน โดยผสมผสานองค์ประกอบใหม่ๆ เพื่อให้วิ่งควายประเพณีเดียวในโลก ของคนไทย มีชีวิตชีวา และน่าตื่นเต้น มันยังคงเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของชลบุรี และเป็นงานที่ต้องห้ามพลาดสำหรับทุกคนที่มาเยือนภูมิภาคนี้ โดยการจัดงานในลักษณะนี้ต่อเนื่องจะช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยว ส่งผลให้มีเศรษฐกิจของจังหวัดดีขึ้นอีกด้วย รับรองว่าหากคุณได้มารับชมประเพณีวิ่งควายของจังหวัดชลบุรีคุณจะต้องได้รับเสียงหัวเราะ และได้อนุรักษ์ประเพณีวิ่งควายของชาวไทย ที่สืบทอดมาจนถึงคนรุ่นหลังอีกด้วย 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี ที่น่าสนใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ใว้ ให้รุ่นลูกรุ่นหลาน

จังหวัดชลบุรีของเรานั้นมีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ แถมยังมีเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ คือ เมืองพัทยาอีกด้วย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้ว ยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก ทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมไปถึง ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี และวัฒนธรรมต่างๆ ที่น่าสนใจไม่แพ้ที่ท่องเที่ยวอื่นๆ เลยทีเดียว ซึ่งแต่ละประเพณีนั้นก็มีความโดดเด่น และน่าตื่นตาตื่นใจ ใครที่ได้มาสัมผัสกับ ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี งานเทศกาล เป็นอันต้องติดใจ  ด้วยเหตุนี้จึงทำไห้จังหวัดของเราเป็นที่นิยมสำหรับนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวท่างชาติที่เดินทางกันเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย

ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี จังหวัดทางภาคทะวันออก ที่เที่ยวยอดฮิต ประเพณีน่าตื่นตื่นใจ 

จากที่เราได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่าว่า จังหวัดของเรานับว่าเป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่เป็นที่นิยมในหมูนักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นชาวไทยหรือชาวต่างชาติ ด้วยความที่มีแหล่งท่องเที่ยวครบครัน แถมยังมีประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี มากมายอีกด้วย วันนี้เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี วัฒนธรรม ที่หลายๆ คนอาจจะไม่เคยเห็นมาก่อน เพราะเป็นประเพณีที่มีเฉพาะในจังของเราเท่านั้น  ไปดูกันเลยว่ามีประเพณีไหนที่น่าสนใจบ้าง

  • มาเริ่มกันที่ประเพณีแรกที่บอกได้เลย ว่ามีหนึ่งเดียวในไทย แลเหนึ่งเดียวในโลก นั่นก็คือประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็น ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี ภาคตะวันออก ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง ประเพณีดังภาคตะวันออก ที่ขึ้นชื่อ ของเรานั้นมีจุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์  สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย
  • มาต่อกันด้วยประเพณีงานบุญกลางบ้าน  ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรีงานเทศกาล ที่นับได้ว่าเป็นประเพณีดั้งเดิมของชาวอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตามคติความเชื่อของประเพณีงานบุญกลางบ้าน มาจากการผสานความเชื่อเรื่องบรรพบุรุษของคนโบราณเข้ากับความเชื่อทางพุทธศาสนา เป็นคติความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษ ในการขอบคุณบรรพบุรุษที่ประทานความอุดมสมบูรณ์จนสามารถเก็บเกี่ยวได้ และเป็นการสะเดาะเคราะห์คนในหมู่บ้านทั้งหมด และสอดคล้องกับวิถีชีวิตทางเกษตรกรรมของคนในชุมชน โดยประสานกับคติทางพุทธศาสนาเถรวาท ด้วยการจัดให้มีการทำบุญเลี้ยงพระภิกษุสงฆ์ เพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ และเสริมสวัสดิมงคลความอุดมสมบูรณ์ของคนในหมู่บ้านหลังฤดูเก็บเกี่ยว ซึ่งประชาชนในพื้นที่ได้ยึดปฏิบัติร่วมกันมานานกว่า 100 ปี ด้วยความเลื่อมใสศรัทธา ตามความเชื่อว่าเมื่อกระทำแล้วจะเกิดสิริมงคล ทำให้ครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น อยู่เย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรือง ตลอดจนเป็นการสะเดาะเคราะห์อีกด้วย และยังมีกิจกรรมที่น่าสนใจอื่นๆ อีกมากมาย เช่น การทายโจ๊ก ร่วมสนุกกับการละเล่นพื้นบ้าน ชมการแข่งขัน การแสดง และดนตรีท้องถิ่น มากมาย ตลอดจนสัมผัส วิถีชีวิตผสมผสาน วัฒนธรรม ภูมิปัญญา อาหารถิ่น 3 ชาติพันธุ์ ไทย ลาว จีน
ประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี
  • ประเพณีสุดท้ายเป็นกิจกรรมบอกเลยว่า ทุกท่านต้องได้มาสัมผัสสักครั้งให้เลยได้ เป็นกิจกรรมที่จะจัดขึ้นในช่วงหลังเทศกาลสงกรานต์จะมีการเริ่มเล่นสาดน้ำกันประมาณวันที่ 16 หรือ 17-18-19 เมษายน โดยเรียกกันว่า วันไหล สำหรับเมืองพัทยา ได้กำหนดจัดงานวันไหลในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี โดยมีกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พิธีรดน้ำดำหัว ขบวนแห่วันไหล การสาดน้ำกันอย่างสนุกสนานของประชาชน และ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยชาวต่างประเทศ เป็นประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี วัฒนธรรม ที่ใครๆหลายคนตั้งหน้าตั้งตารอคอยเลยทีเดียว วันไหล ซึ่งแต่เดิมมีชื่อเรียกว่า ประเพณีก่อพระทรายน้ำไหล คือ เป็นวันทำบุญขึ้นปีใหม่ที่นิยมปฏิบัติต่อๆกันมาในภาคตะวันออก และเขตภาคกลางบางจังหวัด ชาวบ้านจะนิยมก่อพระเจดีย์ทรายถวายเป็นพุทธบูชา แต่ด้วยสภาพของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไป การขนทราย โกยทราย หาบทราย เข้าวัดคนละหาบสองหาบก็เปลี่ยนสภาพมาเป็นซื้อทรายเป็นรถ ๆ ขนกันอย่างสะดวกสบาย งานก่อพระทรายน้ำไหลก็เปลี่ยนสภาพไปตามกาลเวลา ก่อพระทรายน้ำไหล จึงเรียกสั้น ๆ ลงเหลือแค่ วันไหล หรือ “ประเพณีวันไหล นั่นเอง

ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี เป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม ให้เหล่านักท่องเที่ยวทุกท่านได้มาพักผ่อนหย่อนใจ เป็นจังหวัดที่ไม่ได้มีดีเฉพาะที่เที่ยวเท่านั้น  เพราะความจริงแล้วจังหวัดของเรานั้นมีประเพณีขึ้นชื่อชลบุรี งานเทศกาล ต่างๆ ที่น่าสนใจไม่แพ้จังหวัดอื่นๆ อีกด้วย ต้องมาให้ได้สักครั้งในชีวิต   

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

สืบสานประเพณีชลบุรี เดินทางสะดวก แถมใกล้กรุงเทพ ควรค่าแก่การมาเที่ยวมากๆ

ทุกท่านอาจจะคุ้นหูกับคำว่าจังหวัดชลบุรีกันมาบ้างแล้ว แต่วันนี้เราจะพาเหล่านักท่องเที่ยวทุกท่าน มาทำความรู้จัก กับจังหวัดชลบุรีให้ทุกท่านได้รู้มากยิ่งไปอีก ว่าจริงๆ แล้ว จังหวัดของเรามีดีอย่างไงบ้าง สืบสานประเพณีชลบุรี  หนึ่งในภาคตะวันออก ของประเทศไทย อีกทั้งยังมีชุมชนเมืองที่เป็นศูนย์กลางของจังหวัดนั่นก็คือ เทศบาลเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรีของเรานั้นมีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่แถมยังมีเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ คือ เมืองพัทยาอีกด้วย รวมไปถึงจังหวัดชลบุรีของเราก็มี สืบสานประเพณีชลบุรี ภูมิปัญญา พื้นบ้านต่างๆที่น่าสนใจมากมาย ที่บอกเลยว่ามีแค่ที่จังหวัดของเราเท่านั้น

สืบสานประเพณีชลบุรี มีที่น่าสนใจหลายอย่างให้นักท่องเที่ยวทุกท่านได้สัมผัส

อย่างที่ทุกท่านทราบกันดีอยู่แล้วว่าจังหวัดชลบุรีของเรานั้นเป็นเมืองขึ้นชื่อแห่งการท่องเที่ยว รวมไปถึงสืบสานประเพณีชลบุรี มากมายที่น่าสนใจหลายประเพณีเลยทีเดียว ซึ่งแต่ละประเพณีนั้นก็จะมีเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างกันออกไป และแน่นอนว่าเมื่อใครได้มาสัมผัสต้องตื่นตาตื่นใจเป็นอย่างมาก วันนี้เราเลยอยากที่จะมาบอกต่อมนต์เสน่ห์ของการสืบสานประเพณีชลบุรี แหล่งวัฒนธรรม ของจังหวัดชลบุรีของเราให้แก่เหล่านักท่องเที่ยว และนักเดินทางทุกท่านได้ชม

  • ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง มีจุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นเป็นการสืบสานประเพณีชลบุรี เอกลักษณ์ของจังหวัด  เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่มีที่เดียวในไทย และที่เดียวในโลกเลย
  • วันไหล พอถึงเดือนเมษายน อากาศในเมืองไทยก็ยิ่งร้อนขึ้น แต่คนโบราณนั้นเข้าใจคิดประเพณีสงกรานต์ไว้คลายร้อน และถือเป็นวันปีใหม่ของไทยที่  สืบสานประเพณีชลบุรีภูมิปัญญา ไทยของเรา  ประเพณีสงกรานต์ในภาคกลาง มักจะเล่นกันระหว่างวันที่ 13-14-15 ของเดือนเมษายน ส่วนในภาคตะวันออกนั้น  จะแตกต่างจากที่อื่นคือ จะเริ่มเล่นสาดน้ำกันประมาณวันที่ 16 หรือ 17-18-19 เมษายน โดยเรียกกันว่า “วันไหล”สำหรับเมืองพัทยา ได้กำหนดจัดงานวันไหลในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี โดยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น พิธีรดน้ำดำหัว ขบวนแห่วันไหล การสาดน้ำกันอย่างสนุกสนานของประชาชน และ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยชาวต่างประเทศ เป็นต้น
สืบสานประเพณีชลบุรี
  • ปิดท้ายที่งานประเพณี กองข้าว สงกรานต์ศรีราชา” ขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ 19 – 29 เมษายน เพื่อเป็นการส่งเสริม การท่องเที่ยวและรักษาประเพณีกองข้าวในเทศกาลสงกรานต์ให้สืบอยู่ต่อไป “ประเพณีกองข้าว” ถือว่าเป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดชลบุรีที่สืบทอดกันมาแต่อดีตกาล ซึ่งประเพณีกองข้าวเป็นการ  สืบสานประเพณีชลบุรีแหล่งวัฒนธรรม ถูกจัดขึ้นในหลายอำเภอของจังหวัดชลบุรี ทั้งในอำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอพนัสนิคม เป็นต้น โดยเมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปีชาวบ้านจะนำข้าวปลาอาหารคาวหวานมากองรวมกันไว้ และเชิญวิญญาณทั้งหลายให้มารับประทาน เนื่องจากขาวบ้านมีความเชื่อว่าวิญญาณเหล่านี้จะไม่ทำร้ายชีวิตและทรัพย์สินของตนเอง หลังจากการทำพิธีเสร็จแล้ว ชาวบ้านก็จะร่วมกันรับประทานอาหาร มีการละเล่นครื้นเครง และชาวบ้านจะไม่นำอาหารที่นำมาร่วมพิธีกลับ เมื่อรับประทานไม่หมดก็จะนำแจกจ่ายให้แก่สัตว์ต่าง ๆ ในบริเวณนั้น ภายในบริเวณงานมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งบูธสินค้าขายสินค้าเป็นจำนวนมากทั้งอาหารคาวหวาน และสินค้าต่าง ๆ มากมายที่สามารถจับจ่ายใช้สอยได้ในราคาย่อมเยา และก็ยังมีธขนมครกเจ๊แขก แต่เราก็ไม่ได้รอซื้อคนเยอะมากกลัวจะรอนานแล้วจะไม่ได้เดินไปไหนพอดี บูธที่น่าสนใจอีกบูธก็คือการให้อาหารหมูแคระ เห็นเด็ก ๆ ยืนให้อาหารหมูแคระอย่างสนุกสนาน นอกจากนี้ยังมีการแสดงเปิดหมวกของเด็ก ๆ ที่น่าสนใจด้วย

สืบสาน ประเพณีชลบุรี จังหวัดของเรานั้นมีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ แถมยังมีเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ นั่นก็คือเมืองพัทยา อีกทั้งมีการ สืบสานประเพณีชลบุรีภูมิปัญญา มากมาย น่าสนใจ รับรองว่าง่าหากใครได้เห็นต้องหลงรักจังหวัดของเราแน่นอน

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

ประเพณีจันทบุรี รวมของดีในจังหวัดที่น่าสนใจ

ประเพณีจันทบุรี

จังหวัดจันทบุรีอยู่ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, ตราด, สระแก้ว อีกทั้งยังติดกับประเทศกัมพูชาอีกด้วย เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเล ที่มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน และมีความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ ทั้งป่าทึบ, น้ำตก, ภูเขา, ทะเล, อุทยานแห่งชาติและเขตอนุรักษ์  ส่งผลให้ ประเพณีจันทบุรี เป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมมากมาย ถือเป็นจังหวัดที่เหมาะแก่การมาท่องเที่ยว พักผ่อน สัมผัสธรรมชาติและ ประเพณีจันทบุรีวิถีชีวิต ของชาวบ้านมาก ๆ อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ 

ประเพณีจันทบุรี พร้อมสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม และงานเทศกาลต่างๆ ที่ห้ามพลาด 

 แหล่งท่องเที่ยวสุดอันซีน ซึ่งในวันนี้ ประเพณีจันทบุรี ขอบอกเลยว่า ขนมาเต็มทัพ จัดมาให้นักท่องเที่ยวที่น่ารัก ทุก ๆ คน ไปท่องเที่ยวกัน ใครที่มีแพลนจะไป เที่ยวจันทบุรี ไม่ต้องกลัวว่าจะหา ประเพณีจังหวัดจันทบุรี ของดี ไม่เจอ เพราะเราจะคัดแต่ประเพณีเด็ดๆ ดังๆ ให้ทุกท่านได้ไปท่องเที่ยว ชื่นชม สัมผัสกับบรรยากาศของวิถีชิวิตดั้งเดิม ในจังหวัดจันทบุรีกัน 

ประเพณีจันทบุรี
  • ประเพณีการนมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ   หรือพระบาทพลวง เป็นเทศกาลเดือน  3  ที่ปฏิบัติกันมานานแล้วเดิมเริ่มขึ้นไปนมัสการในวันขึ้น1 ค่ำ – ขึ้น 15 ค่ำเดือน 3  รวม 15 วันของทุกปีแต่มาระยะหลังเริ่มเป็นที่รู้จักของผู้คนที่มีความเลื่อมใสศรัทธาทั้งชาวไทยและต่างประเทศได้เปิดเวลาให้นมัสการมากขึ้นกล่าวคือ ในปี  พ.ศ. 2538  เป็นต้นมา เปิดให้นมัสการ 60 วันและยังคงยึดเดือน 3 เหมือนเดิม ก่อนการนมัสการจะเริ่มขึ้นคือในวันแรม 14 ค่ำ เดือน 2 จะมีการทำพิธีเปิดพระบาทเรียกว่า ” เปิดป่า ”  แล้วจึงเริ่มเปิดให้ขึ้นนมัสการพระบาทจนครบ  60  วันจึงมีพิธีเปิดป่าสำหรับการเดินทางไปนมัสการเป็น ประเพณีจันบุรี งานประจำปี ในสมัยแรกต้องเดินด้วยเท้าโดยเริ่มตั้งแต่วัดพลวงไปจนถึงพระบาทและกลับไม่ทันในวันเดียว คนที่จะขึ้นไปนมัสการจะต้องพักค้าง  แต่ในปัจจุบันสามารถไปกลับได้ภายในวันเดียว ซึ่งการขึ้นก็อาจเดินด้วยเท้าใช้เวลาในการขึ้นรวมทั้งพักระหว่างทางด้วยประมาณ 5 ชั่วโมง แต่ถ้าไม่เดินจะมีรถให้บริการเป็นช่วง 2 ช่วง แล้วเดินทางต่อด้วยเท้าอีกประมาณ 1ชั่วโมง  แต่การเดินทางด้วยเท้าจะมีโอกาสได้สัมผัสบรรยากาศ  ร่มรื่น  ความงดงามของป่า  ตามธรรมชาติได้มากกว่า เมื่อขึ้นไปถึงพระบาทจะหายเหน็ดเหนื่อยทันที เพราะอากาศเย็นสบายและสามารถมองทิวทัศน์ที่งดงามของเมืองจันทบุรีได้ส่วนหนึ่งระหว่างทางจะมีเจดีย์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้แวะนมัสการ กราบไหว้ และต่อจากพระบาทจะมีห้างฝรั่ง  สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้ยังมีถ้ำหลายถ้ำให้ได้เข้าไปชม  เช่น  ถ้ำน้ำ  ถ้ำวิมาน  และถ้ำฤาษีระหว่างการเดินทางจะพบกับคนหลายวัย แม้จะมาจากต่างถิ่นต่างที่แต่ก็จะแสดงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกันเชื่อกันว่าการไปนมัสการพระบาทพลวงจะได้บุญมากประสงค์สิ่งใดมักได้ดังปรารถนา ถ้าใครได้ขึ้นไปนมัสการครบ 7  ครั้ง เปรียบเสมือนได้บวชหนึ่งครั้งหรือเหมือนได้ขึ้นสวรรค์จากการสุ่มสอบถามผู้ที่มานมัสการพระบาทพลวงจึงมักพบผู้คนที่มานมัสการพระบาทพลวงมากกว่า  1  ครั้ง หากใครได้มานมัสการพระบาทพลวงถือว่าเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตของตนเอง
  • งานมหกรรมทุเรียนโลก จัดในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี ที่บริเวณสวนสาธารณะสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทุ่งนาเชย) อ.เมือง จ.จันทบุรี โดยมีการประกวดรถประดับผลไม้ หรือแพผลไม้ การประกวดธิดาชาวสวนการประกวดผลไม้ที่มีชื่อเสียงของภาคตะวันออก โดยมีระยะเวลาจัดงานนาน 1 – 2 สัปดาห์ จัดที่บริเวณสวนสาธารณะสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทุ่งนาเชย) อำเภอเมือง จ.จันทบุรี โดย ประเพณีจังหวัดจันทบุรี ของดี มีการประกวดรถประดับผลไม้ หรือแพผลไม้ การประกวดธิดาชาวสวนการประกวดผลไม้ที่มีชื่อเสียงของภาคตะวันออก ได้แก่ เงาะ ทุเรียน มังคุด สละ กระท้อน การประกวดสุนัขพันธุ์แสนรู้ การออกร้านจำหน่ายอัญมณี ภายในงานมหกรรมทุเรียนโลกจันทบุรีหลากหลายโซนด้วยกัน
ประเพณีจันทบุรี
  • เทศกาลดูปูแป้นชื่นชมธรรมชาติ เป็น ประเพณีจังหวัดจันทบุรี วิถีชีวิต ของชาวบ้านที่ได้ร่วมกันจัดขึ้น ระว่างช่วงเดือน ตุลาคม ณ ท่าเทียบเรือ หมู่ 2 ต.เกวียนหัก อ.ขลุง จ.จันทบุรี ความเป็นมาของเทศกาลดูปูแป้นชื่นชมธรรมชาติ ในช่วงแรม 1 ค่ำเดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 ในช่วงนี้ปูแป้นที่อยู่ในบริเวณป่าชายเลนจะออกไปวางไข่ที่ปากแม่น้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่หาชมได้ยาก ทางเทศบาลตำบลเกวียนหัก จึงได้จัดเทศกาล “วันดูปูแป้น ชื่นชมธรรมชาติขึ้น”โดยได้รับความร่วมมือองค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลเกวียนหัก กลุ่มผู้ประกอบการเรือเล็กรักษาสิ่งแวดล้อม และชาวบ้านในตำบลเกวียนหัก ส่งเสริมให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นมา

ประเพณีจังหวัดจันทบุรี จังหวัดทางภาคตะวันออกของประเทศไทย อยู่ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, ตราด, สระแก้ว และไม่ไกลจากกรุงเทพอีกด้วย มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมมากมาย ถือเป็นจังหวัดที่เหมาะแก่การมาท่องเที่ยว พักผ่อน และมี  ประเพณีจันบุรี งานประจำปี มากมายให้ทุกท่านได้ร่วมเพลิดเพลิน 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออก ผลไม้อร่อย ไม่เป็นรองใครแน่นอน

เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออก

ในการท่องเที่ยวในภาคตะวันออกนอกจากจะมีสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ แล้วยังมี ประเพณีภาคตะวันออก ที่เป็นหนึ่งในจุดเด่นที่น่าสนใจซึ่ง เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออก ในแต่ละภาคนั้นล้วนแต่มี ประเพณี อันเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาคซึ่งจะเป็นการบ่งบอกถึงวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของภูมิภาคนั้น ๆ ซึ่งส่งต่อมาในรูปแบบรุ่นสู่รุ่น เป็นการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยที่บางวัฒนธรรนั้นได้เลือนรางหายไปทางยุคสมัยที่เปลี่ยนผ่านไป ซึ่งการท่องเที่ยวในปัจจุบันได้มีการเล็งเห็น เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออกวัฒนธรรม ของชาวไทย  จึงได้มีการอนุรักษณ์สืบทอดเพื่อส่งต่อถึงคนรุ่นหลังๆ 

เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออก งดงามอลังการ สวยงาม ที่บอกเลยว่าห้ามพลาดเด็ดขาด  

อย่างที่ทุกท่านก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่าภาคตะวันออกของไทยมีทั้งหมด 7 จังหวัดประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดนั้นนับว่ามี เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออกที่น่าสนใจมากมายเลยทีเดียว หลายท่านอาจจะเคยไปมาแล้วบ้าง และก้อาจจะมีหลายๆ ท่านที่ยังไม่เคยได้สัมผัสกับประเพณีที่ขึ้นชื่อของภาคตะวันออก  วันนี้เราได้มัดรวม เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออกงานเทศกาล  ของแต่ละจังหวัดมาให้ทุกท่านได้ชมกัน ไปดูกันเลยว่ามีประเพณีจังหวัดไหนน่าสนใจบ้าง

เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออก
  • งานวันระกำหวาน ผลไม้ และของดีเมืองตราด ประจำปี  ณ บริเวณด่านบ้านท่าจอด ตำบลแสนตุ้ง อำภเอเขาสมิง นับว่าเป็น เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออกจัดประจำทุกปี  โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ชื่อเสียงผลไม้ที่มีคุณภาพของจังหวัด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมทางด้านการตลาดให้กับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ และผู้ผลิตสินค้าชุมชน และท้องถิ่นของจังหวัดตราด ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด การจัดงานดังกล่าวภายในงานมีกิจกรรมที่หลากหลาย ประกอบด้วย การประกวดผลไม้ ทั้งระกำหวาน ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ลองกอง สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง มังคุด และเงาะโรงเรียน พร้อมทั้งการเปิดตลาดนัดผลไม้คุณภาพราคาถูก การแสดงนิทรรศการด้านการเกษตร การประกวดอาหารพื้นบ้าน การประกวดประกอบอาหารคาว ประกวดประกอบอาหารหวานจากผลไม้ การแข่งขันรับประทานผลไม้ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการจัดงานดังกล่าวในปีนี้ได้มีการย้ายสถานที่จัดงานจากปีที่ผ่านมาจัดในพื้นที่อำเภอเมืองตราด ไปจัดในพื้นที่อำเภอเขาสมิงแทน เนื่องจากเป็นพื้นที่ ที่มีสวนผลไม้มากที่สุด และยังเป็นสถานที่จัดงานระกำหวานตั้งแต่ครั้งแรก ประกอบกับเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดตราด
  • งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวีที่เกาะช้าง ซึ่งเป็น เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออกวัฒนธรรม ของจังหวัดตราด ณ วันที่ 17-21 หรือ วันที่ 23 มกราคม ณ บริเวณอนุสรณ์สถานยุทธนาวีที่เกาะช้าง ฝั่งอำเภอแหลมงอบ ร่วมกันจัดโดยกองทัพเรือ “จังหวัดตราด” และอำเภอแหลมงอบ จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการทำยุทธนาวีของกองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 อันเป็นยุทธนาวีครั้งสำคัญยิ่งของกองทัพเรือไทย ในครั้งนั้น ฝรั่งเศสส่งกำลังทางเรือ ประกอบด้วย เรือลาดตระเวนลามอตต์ปิเกต์เป็นเรือธง เรือสลุบ 2 ลำ และเรือปืน 4 ลำ เข้ารุกล้ำน่านน้ำไทย บริเวณเกาะช้าง จังหวัดตราด เพื่อจะเข้าระดมยิงหัวเมืองชายทะเลทางภาคตะวันออกของไทย เฉพาะเรือลามอตต์ปิเกต์เพียงลำเดียว ก็มีกำลังพลมากกว่ากำลังพลทั้งหมดของกำลังรบทางเรือไทย ที่รักษาการณ์อยู่บริเวณนั้นอันประกอบด้วย เรือหลวงธนบุรี เรือหลวงชลบุรี และเรือหลวงสงขลา ถึงแม้ว่ากำลังรบของไทยจะเสียเปรียบอย่างมาก แต่วีรชนผู้กล้าหาญของไทยก็ยังมีขวัญและกำลังใจอันเข้มแข็ง ได้เข้าขัดขวางผู้รุกล้ำอธิปไตยและทำการต่อสู้อย่างสุดกำลังความสามารถ ยอมสละชีพเพื่อปกป้องแผ่นดินและรักษาเอกราชด้วยความกล้าหาญ ซึ่งเหตุการณ์รบครั้งนั้น กำลังทางเรือของเราที่รักษาการณ์อยู่ สามารถทำให้กำลังทางเรือของฝรั่งเศสได้รับความเสียหาย และต้องล่าถอยไปในที่สุด
  • งานทอดผ้าป่ากลางน้ำ ของจังหวัดระยอง เป็นงานที่มีอายุมากกว่า 100 ปี โดยประชาชนจะนำพุ่มผ้าป่าที่ทำงานไม้ต้นฝาดหรือต้นโปรงพืชที่ขึ้นกลางน้ำพร้อมประดับตกแต่งให้สวยงาม ไปปักไว้กลางแม่น้ำประแสร์ จากนั้นนิมนต์พระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม ประเพณี ในทางพระพุทธศาสนา โดยพระสงฆ์ต้องถูกนิมนต์ลงเรือไปยังพุ่มผ้าป่ากลางลำน้ำประแสร์ ส่วนประชาชนที่ร่วมประกอบพิธีก็จะพายเรือ แจวเรือเข้าร่วมพิธีกลางลำน้ำนั้น หลังเสร็จจากพิธีสงฆ์ ชาวบ้านจะมีการแข่งขันและเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมาย  นับได้ว่าเป็น เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออกงานเทศกาล นี้เลยแหละ  อีกทั้งภายในงานนั้นยังมีกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การแข่งเรือพาย แข่งพายกะโล่ แข่งพายเรือข้ามลำไม้ไผ่ แข่งชกมวยทะเล เป็นต้น

เสน่ห์ประเพณีภาคตะวันออก ถึงแม้ว่าจะประกอบไปด้วยไม่กี่จังหวัด แต่บอกเลยว่าแต่ละจังหวัดมีดีทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นที่เที่ยว ที่กิน ที่พัก รวมไปถึงประเพณีต่างๆ ที่มีชื่อเสียง อันเป็นจุดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ และนี่แหละ นับว่าเป็น  เสน่ห์ปะเพณีภาคตะวันออก วัฒนธรรม ท้องถิ่นของเราที่ทุกท่านต้องติดใจ

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

สืบสานประเพณีภาคตะวันออก ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ใว้เป็นอย่างมาก

ต้องบอกก่อนเลยว่าประเพณีภาคตะวันออกของเรานั้น  เป็นอีกหนึ่งแหล่งวัฒนธรรมประจำชาติไทยที่คนทั่วโลกรู้จัก เพราะมีการ สืบสานประเพณีภาคตะวันออก ขึ้นชื่อมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ประเพณี วันไหลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรือการแข่งขันวิ่งควายของจังหวัดชลบุรีเป็นต้น นอกจากจังหวัดชลบุรีแล้วยังมีจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันออกของไทยที่มีงานเทศกาลที่สะท้อนขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงานของชาติอีกมากมาย วันนี้ สืบสานประเพณีภาคตะวันออกดั้งเดิม ของเราจะพาทุกท่านไปชม ประเพณีไทยของเราที่บอกเลยว่าคัดสรรมาอย่างดี มีแต่ประเพณีเด็ดๆ ดัง เลย ว่าแล้วก็มาเรียนรู้และทำความรู้จักไปพร้อมๆกันเลย 

สืบสานประเพณีภาคตะวันออก

สืบสานประเพณีภาคตะวันออก วัฒนธรรมไทยท้องถิ่นที่มีมาตั้งแต่อดีตกาล น่าสนใจไม่แพ้ภาคอื่น 

ภาคตะวันออกประเทศไทยมีทั้งหมด 7 จังหวัดประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดมีความน่าสนใจในเรื่องของ สืบสานประเพณี ภาคตะวันออก ประเพณีประจำท้องถิ่นของแต่ละจังหวัดมากมาย เช่น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นต้น ใครที่มาเที่ยวทางภาคตะวันออกแล้ว ต้องอย่าพลาดแวะงานเทศกาล สืบสานประเพณีภาคตะวันออกประจำปี ของเรากันนะ 

สืบสานประเพณีภาคตะวันออก
  • มาเริ่มกันที่งานวันระกำหวาน ผลไม้ และของดีเมืองตราด ประจำปี  ณ บริเวณด่านบ้านท่าจอด ตำบลแสนตุ้ง อำภเอเขาสมิง โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดงานเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ชื่อเสียงผลไม้ที่มีคุณภาพของจังหวัด อีกทั้งเป็นการ สืบสานประเพณีภาคตะวันออกงานเทศกาล ที่ส่งเสริมทางด้านการตลาดให้กับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ และผู้ผลิตสินค้าชุมชน และท้องถิ่นของจังหวัดตราด ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด การจัดงาน ดังกล่าวภายในงานมีกิจกรรมที่หลากหลาย ประกอบด้วย การประกวดผลไม้ ทั้งระกำหวาน ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ลองกอง สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง มังคุด และเงาะโรงเรียน พร้อมทั้งการเปิดตลาดนัดผลไม้คุณภาพราคาถูก การแสดงนิทรรศการด้านการเกษตร การประกวดอาหารพื้นบ้าน การประกวดประกอบอาหารคาว ประกวดประกอบอาหารหวานจากผลไม้ การแข่งขันรับประทานผลไม้ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการจัดงานดังกล่าวในปีนี้ได้มีการย้ายสถานที่จัดงานจากปีที่ผ่านมาจัดในพื้นที่อำเภอเมืองตราด ไปจัดในพื้นที่อำเภอเขาสมิงแทน เนื่องจากเป็นพื้นที่ ที่มีสวนผลไม้มากที่สุด และยังเป็นสถานที่จัดงานระกำหวานตั้งแต่ครั้งแรก ประกอบกับเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดตราด
  • มาต่อกันที่งานมหกรรมทุเรียนโลก ของดีจังหวัดจันทบุรี เป็นงาน สืบสานประเพณีภาคตะวันออกประจำปี ใครที่เป็นสายทุเรียนบอกเลยว่าห้ามพลาดเลยเชียว ซึ่งเทศกาลนี้นั้นจะจัดในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี ที่บริเวณสวนสาธารณะสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทุ่งนาเชย) อ.เมือง จ.จันทบุรี โดยภานในงานมีการประกวดรถประดับผลไม้ หรือแพผลไม้ การประกวดธิดาชาวสวนการประกวดผลไม้ที่มีชื่อเสียงของภาคตะวันออก โดยมีระยะเวลาจัดงานนาน 1 – 2 สัปดาห์ จัดที่บริเวณสวนสาธารณะสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทุ่งนาเชย) อำเภอเมือง จ.จันทบุรี โดยมีการประกวดรถประดับผลไม้ หรือแพผลไม้ การประกวดธิดาชาวสวนการประกวดผลไม้ที่มีชื่อเสียงของภาคตะวันออก ได้แก่ เงาะ ทุเรียน มังคุด สละ กระท้อน การประกวดสุนัขพันธุ์แสนรู้ การออกร้านจำหน่ายอัญมณี ภายในงานมหกรรมทุเรียนโลกจันทบุรีหลากหลายโซนด้วยกัน ซึ่งแต่ละโซนก็มีความน่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว นักท่องเที่ยวสายกินต้องไม่พลาดงานเทศกาลเด็ดๆ แบบนี้เป็นอันขาด เพราะถ้ามาเที่ยวจังหวัดจันทบุรีแล้ว ต้องได้กินทุเรียนเมืองจันท์ ใครที่พลาดถือว่ามาไม่ถึง 
  • และสุดท้ายเลย นั่นก็คือประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นประเพณีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ   ซึ่งอพยพมาจากเวียงจันทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ซึ่งเรียกตัวเองว่า “ชาวลาวเวียง” ปัจจุบันตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา “บุญข้าวหลาม” เป็นการ สืบสานประเพณีภาคตะวันออกดั้งเดิม ด้วยการทำบุญถวายข้าวหลาม ขนมจีนน้ำยาป่าแด่พระภิกษุสงฆ์ วัดหนองบัว วัดหนองแหน ซึ่งอยู่ในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ประเพณีนี้มีในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3ของทุก ปี เหตุที่ถวายข้าวหลามนั้น อาจเป็นเพราะเดือน 3 เป็นฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา จึงนำข้าวอันเป็นพืชหลักของตนที่ได้จากการเก็บเกี่ยวครั้งแรก ซึ่งเรียกว่าข้าวใหม่ จะมีกลิ่นหอมน่ารับประทานมาก นำมาทำเป็นอาหาร โดยใช้ไม้ไผ่สีสุกเป็นวัสดุประกอบในการเผา เพื่อทำให้ข้าวสุก เรียกว่า “ข้าวหลาม” เพื่อนำไปถวายพระภิกษุ เป็นหนึ่งประเพณีของชาวบ้านกลุ่มหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทราที่ควรอนุรักษ์ใว้เป็นอย่างมาก 

สืบสานประเพณี ภาคตะวันออก ซึ่งประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ที่นับว่าเป็นเมืองยอดฮิตขึ้นชื่อในเรื่องของการท่องเที่ยว  และรวมไปถึงแต่ละจังหวัดนั้นก็มีการ สืบการประเพณีภาคตะวันงานเทศกาล ต่างๆ ที่สะท้อนขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงามใว้อีกด้วย 

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ และทุกคนต้องห้ามพลาด

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก

ไม่ว่าจะเป็น ประเพณี วันไหลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรือการแข่งขันวิ่งควายของจังหวัดชลบุรีเป็นต้น นอกจากที่จังหวัดชลบุรแล้ว บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก ของเราก็ยังมีจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันออกของไทยที่มีงานเทศกาลที่สะท้อนขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมอันดีงานของชาติอีกมากมาย วันนี้บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออกภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเรียนรู้และทำความรู้จักกัน

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งภาคตะวันออกมีทั้งหมด 7 จังหวัด ด้วยกัน 

ประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดมี บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก มีความน่าสนใจในเรื่องของ ประเพณี ท้องถิ่นประจำจังหวัดมากมาย วันนี้เราจะมา บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก ศรีราชา เช่น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นต้น

บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก
  • งานทอดผ้าป่ากลางน้ำ ของจังหวัดระยอง เป็นงานที่มีอายุมากกว่า 100 ปี โดยประชาชนจะนำพุ่มผ้าป่าที่ทำงานไม้ต้นฝาดหรือต้นโปรงพืชที่ขึ้นกลางน้ำพร้อมประดับตกแต่งให้สวยงาม ไปปักไว้กลางแม่น้ำประแสร์ จากนั้นนิมนต์พระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม ประเพณี ในทางพระพุทธศาสนา โดยพระสงฆ์ต้องถูกนิมนต์ลงเรือไปยังพุ่มผ้าป่ากลางลำน้ำประแสร์ ส่วนประชาชนที่ร่วมประกอบพิธีก็จะพายเรือ แจวเรือเข้าร่วมพิธีกลางลำน้ำนั้น หลังเสร็จจากพิธีสงฆ์ ชาวบ้านจะมีการแข่งขันและเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมาย บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออกกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็น การแข่งเรือพาย แข่งพายกะโล่ แข่งพายเรือข้ามลำไม้ไผ่ แข่งชกมวยทะเล เป็นต้น
บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก
  • งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ของจังหวัดปราจีนบุรี ทุกๆ วันที่ 16 เม.ย. ของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้วให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง  โดยเริ่มจากบริเวณศาลเจ้าพ่อพระปรง ม.8 มาตามถนนสุวรรณศร สระแก้ว-กบินทร์บุรี เรื่อยไปตามถนนสาย304 เข้าแยกปากท้องบ้านทุ่งแฝก สู่ตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์  โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น ชาวอำเภอกบินทร์บุรี บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออกภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านานและโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา โดยเริ่มตั้งแต่ในช่วงเช้าของวันที่ 15 เมษายน จะมีการอัญเชิญองค์เจ้าพ่อพระปรงลงประทับที่แท่นต่ำ เพื่อให้ประชาชนทำการปิดทองและสรงน้ำ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์โดยศาลเจ้าพ่อพระปรงตั้งอยู่ริมถนนสุวรรณศร(หมายเลข 33) หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านนา อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ต่อกับเขต จ.สระแก้ว และริมแควพระปรง ซึ่งเป็นลำน้ำกั้นเขตแดนสองจังหวัด ในแต่ละวันที่มีประชาชนได้เดินทางสัญจรผ่านไปมาในเส้นทางนี้ไปยัง จ.สระแก้ว หรือเข้าสู่จังหวัดบุรีรัมย์ทาง อ.คลองหาด ก็จะมีประชาชนแวะมาสักการะกราบไหว้หรือไม่ก็บีบแตรยานพาหนะเป็นการแสดงความเคารพ
บอกต่อประเพณีของภาคตะวันออก
  • ประเพณีกองข้าวเป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดชลบุรีโดยแท้ที่สืบต่อๆกันมาตามประวัติ เล่าว่าประเพณีกองข้าวจัดในหลายอำเภอ อาทิเช่น อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอศรีราชา อำเภอบางละมุง อำเภอพนัสนิคม ฯลฯ ครั้นกาลเวลาล่วงเลยผ่านไปในบางพื้นที่ประเพณีได้เลือนหายไป ที่ศรีราชายังคงอนุลักษณ์ไว้อย่างต่อเนื่องและเหนียวแน่น จนกระทั่งกลายเป็นประเพณีเอกลักษณ์ของชาวศรีราชา โดยเฉพาะเมื่อ เทศบาลเมืองศรีราชาและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกันจัดงานกองข้าวศรีราชา เริ่มแต่ปี 2536 เป็นต้นมา โดย บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก ศรีราชา นั้นกำหนดจัดงานประเพณีระหว่างวันที่ 19 – 21 เมษายน ของทุกปี การจัดงานประเพณีกองข้าวเป็นการสนับสนุนส่งเสริมฟื้นฟูอนรักษ์และประเพณีของ ท้องถิ่น ปัจจุบันเทศบาลเมืองศรีราชาได้ผนวกงานสงกรานต์เข้ารวมเป็นงานเดียวกัน และให้ชื่อว่า “งานสงกรานต์ศรีมหาราชาและประเพณีกองข้าว” โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมรณรงค์ให้เด็กเยาวชน และประชาชน ได้เกิดจิตสำนึกในความเป็นคนไทยที่มีเอกลักษณ์และขนบธรรมเนียมประเพณีการ แต่งกายที่ดี ให้ดำรงสืบทอดต่อไป และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย

บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก ประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดก็มี บอกต่อประเพณี ของภาคตะวันออก กิจกรรม และมีการสืบทอดมาอย่างช้านานตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษ เพราะแต่ละภาคนั้น ก็มีประเพณีที่มีการสะท้อนให้เห็นถึงขนบธรรมเนียมต่างๆ อันเป็นจุดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ และนี่แหละ นับว่าเป็นมนต์เสน่ห์ของภาคตะวันออกของเรา ที่จะทำให้นักท่องเที่ยวทุกท่านต้องตกหลุมรัก

ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว สร้างความสามัคคีแก่คนท้องถิ่น

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว สร้างความสามัคคีแก่คนท้องถิ่น

ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว

สระแก้วเป็นจังหวัดที่มีประเพณีอันงดงามมากมาย และยึดถือปฏิบัติกันมาอย่างยาวนาน ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว หนึ่งในประเพณีเก่าแก่ที่ถือปฏิบัติต่อกันมาอย่างยาวนาน และเป็นประเพณีที่สร้างความสมัครสมานสามัคคีแก่คนในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว ยึดถือมาตั้งแต่โบราณกาล จัดขึ้นในวันปีใหม่ไทยหรือวันสงกรานต์ของทุกปี เพื่อเฉลิมฉลองและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย

ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว ประเพณีสำคัญที่แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้สูงอายุ

ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้ว

ประเพณีสงกรานต์ของไทยนั้นแม้จะจัดตรงกันแต่วัฒนธรรมของแต่ละจังหวัดจะมีพิธีและการเฉลิมฉลองแตกต่างกัน อย่าง ประเพณีสงกรานต์ จังหวัดสระแก้ว เป็นประเพณีที่จัดขึ้นพร้อมกันกับประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง จัดขึ้นในวันสงกรานต์หรือวะนปีใหม่ไทย โดย ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้วยึดถือมาตั้งแต่โบราณกาล ถือเป็นประเพณีที่ดีงาม และสร้างความรักความสามัคคีแก่คนในครอบครัว เป็นวันที่บรรดาลูกหลานจะได้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดา ญาติผู้ใหญ่ ผู้อาวุโสรวมถึงผู้ที่มีพระคุณ โดยประเพณีนี้จัดขึ้นเพื่อรักษาขนบธรรมเนียมและประเพณีอันดีงามของจังหวัดไว้ เป็นการแสดงความเคารพนับถือและความกตัญญูต่อบิดามารดา ผู้สูงอายุ ผู้อาวุโสและผู้มีพระคุณ เพื่อขอขมาลาโทษขจัดสิ่งชั่วร้าย ชำระสะสางสิ่งอัปมงคลในชีวิต และรับคำอวยพรจากผู้อาวุโสเพื่อเสริมสิริมงคลของชีวิตที่จะได้เริ่มต้นปีใหม่ที่ดี โดยในวันงานจะมีกิจกรรมมากมายให้ได้เข้าร่วมประกอบด้วย การรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ พิธีบวงสรวงศาลหลักเมืองจังหวัดสระแก้ว พิธีสงฆ์ สรงน้ำพระพุทธรูปและตลาดวัฒนธรรม รวมถึงการแสดงศิลปะพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน การประกวดแข่งขันส้มตำลีลา การก่อพระเจดีย์ทราย ประกวดการแต่งกายงดงาม จากนั้นเมื่อเสร็จการแสดงต่างๆ แล้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดก็จะทำการนำหัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการ และประชาชนที่เข้ามาร่วมพิธี รดน้ำขอพรแก่ศาลหลักเมืองจำลอง จากนั้นรองผู้ว่าราชการจังหวัดก็จะนำหัวหน้าส่วนราชการ และข้าราชการทั้งหลายที่เข้าร่วมพิธีนี้เข้ารดน้ำขอพรจากผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อเสริมสิริมงคลให้แก่ชีวิตและเพื่อขอพรให้บ้านเมืองสงบสุขตลอดวารดิถีขึ้นปีใหม่ การจัดประเพณีสงกรานต์ในลักษณะนี้ไม่เพียงแต่เป็นการระลึกถึงพระคุณของผู้มีพระคุณและบวงสรวงเพื่อขอพรให้บ้านเมืองสงบสุขเท่านั้นแต่ยังเป็นการสร้างสีสันให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่ดีงามของวัฒนธรรมไทยและยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว เพราะการที่ได้รวมตัวกันในวันสำคัญ นอกจากจะได้ความสนุกสนานแล้วยังเกิดความอบอุ่นและเป็นการปลูกฝังให้เด็กรุ่นใหม่รู้จักเคารพ มีสัมมาคารวะและรู้จักพระคุณต่อผู้อาวุโสอีกด้วย ทำให้เด็กรุ่นลูกรุ่นหลานเรียนรู้ถึง ความสำคัญของครอบครัวและเรียนรู้ที่จะรักษาประเพณีอันดีงามที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ โดยภายในงานจะมีพ่อค้า แม่ค้า เข้ามาตั้งร้านค้าขายกันอย่างคับคั่งถือเป็นการสร้างรายได้ให้แก่คนในพื้นที่ ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงสงกรานต์ และเป็นการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาร่วมสนุกในวันสงกรานต์รวมทั้งเป็นการเผยแพร่สืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามให้แก่คนนอกพื้นที่ได้รับรู้อีกด้วย ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้วได้รับความสนใจจากประชาชน เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นประเพณีที่ดีงามให้ลูกหลานได้แสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ไม่เพียงเท่านั้น ในวันงานยังมีกิจกรรมหลากหลายให้ได้เข้าร่วม ถือเป็นงานวันสงกรานต์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร ทำให้ผู้คนให้เข้ามาร่วมกันในประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้วนี้ ทั้งคนในพื้นที่และคนนอกพื้นที่ ที่สนใจประเพณีที่ยิ่งใหญ่นี้ ด้วยความ ดีงามของประเพณีนี้ทำให้ประเพณีนี้จัดขึ้นต่อเนื่องทุกปีและไม่มีทีท่าว่าจะเลือนหายไปจากวัฒนธรรมของชาวสระแก้วเลยทีเดียว เรียกได้ว่าเป็นประเพณีที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดสู่รุ่นลูกรุ่นหลานเป็นอย่างยิ่ง ประเพณีสงกรานต์ จังหวัดสระแก้ว จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ถือเป็นการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามนี้ไว้สืบไป

ประเพณีสงกรานต์ จังหวัดสระแก้ว ประเพณีอันดีงาม ควรค่าแก่การอนุรักษ์

ประเพณีสงกรานต์ จังหวัดสระแก้ว และประเพณีบวสรวงศาลหลักเมืองสระแก้ว ถือเป็นขนบธรรมเนียมและประเพณีอันดีงามของไทย ที่แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ รวมถึงเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมอันดีงามต่างๆ ของจังหวัดให้ผู้คนได้รู้จัก ทั้งการละเล่นพื้นบ้าน ศิลปะพื้นบ้าน ฝีมือการตำส้มตำของคนจังหวัดสระแก้ว การก่อเจดีย์ทราย วัฒนธรรมการแต่งกายของคนในพื้นที่ เป็นต้น กิจกรรมทั้งหมดที่ได้กล่าวข้างต้น ถือเป็นการแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาในรุ่นสู่รุ่น สร้างความสมัครสมานสามัคคีของคนในท้องถิ่นแสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้อาวุโส และผู้สูงอายุ เป็นการบวงสรวงศาลหลักเมืองเพื่อขอพรให้บ้านเมืองเกิดความเจริญรุ่งเรือง สงบสุข ผู้คนมีความสมัครสมานสามัคคีกัน ไม่ขัดแย้งกัน ขอพรไม่ให้เกิดภัยอันตรายแก่บ้านเมือง ปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายออกไป ให้บ้านเมืองมีแต่ความสงบสุข ประเพณีสงกรานต์จังหวัดสระแก้วยึดถือมาตั้งแต่โบราณกาล หนึ่งในประเพณีเก่าแก่ที่ถือปฏิบัติต่อกันมาอย่างยาวนาน เป็นประเพณีอันดีงามที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ไม่ให้สูญหายไป เพื่อให้คนรุ่นลูกรุ่นหลานได้รู้จักและสืบสานต่อไป

ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก แหล่งท่องเที่ยงมากมาย ประเพณีหลากหลาย

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก แหล่งท่องเที่ยงมากมาย ประเพณีหลากหลาย

ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก

ในการท่องเที่ยวในภาคตะวันออกนอกจากจะมีสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ แล้วยังมี ประเพณีภาคตะวันออก ที่เป็นหนึ่งในจุดเด่นที่น่าสนใจซี่ง ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก ในแต่ละภาคนั้นล้วนแต่มี ประเพณี อันเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาคซึ่งจะเป็นการบ่งบอกถึงวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของภูมิภาคนั้น ๆ ซึ่งส่งต่อมาในรูปแบบรุ่นสู่รุ่น เป็นการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยที่บางวัฒนธรรนั้นได้เลือนรางหายไปทางยุคสมัยที่เปลี่ยนผ่านไป ซึ่งการท่องเที่ยวในปัจจุบันได้มีการเล็งเห็นประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชาวไทย  จึงได้มีการอนุรักษณ์สืบทอดเพื่อส่งต่อถึงคนรุ่นหลัง

ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก แปลกตา มีเสน่ห์ สวยงามอย่างมีเอกลักษณ์

อย่างที่ทุกท่านก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่าภาคตะวันออกของไทยมีทั้งหมด 7 จังหวัดประกอบไปด้วยจังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดสระแก้ว แต่ละจังหวัดนั้นนับว่ามีประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก ที่น่าสนใจ  เช่น งานประเพณีกองข้าว ประเพณีบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวีที่เกาะช้าง งานแห่บั้งไฟ ประเพณีขึ้นเขาเผาข้าวหลาม เป็นต้น วันนี้เราจึงได้รวบรวมประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก วิถีชีวิต   ดั้งเดิมของชาวไทย มาให้ทุกท่านได้ชมกัน ไปดูกันเลยว่ามีประเพณีไหน น่าสนใจบ้าง

ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก
  • มาเริ่มกันที่ประเพณีที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก นั่นก็คือ ประเพณีวิ่งควาย ประเพณีขึ้นชื่อ ภาคตะวันออก วัฒนธรรม  เก่าแก่ของชาวจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง จุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ สนุกสนานเฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น 
  • ประเพณีทำบุญกลางทุ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย2อย่างด้วยกัน นั่นก็คือ การทำบุญขอฝน และทำบุญข้าวใหม่หรือทำบุญข้าวหลาม จัดขึ้นช่วงเดือนสาม หลังเก็บเกี่ยวข้าวในนาแล้ว การทำบุญข้าวใหม่นั้นเป็นประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชาวบ้านในพื้นที่  เพื่อรับขวัญข้าวใหม่ที่เก็บเกี่ยวเสร็จ ถือเป็นงานมงคลประจำหมู่บ้านและเป็นการสร้างขวัญ กำลังใจให้แก่ชาวนาอีกด้วย เมื่อถึงวันงานชาวบ้านจะนิมนต์พระมาสวดมนต์ที่ปะรำพิธีกลางทุ่งนา เรียกว่าสวดมนต์เย็น พอรุ่งเช้าก็จะร่วมกันทำบุญตักบาตร แล้วกลับบ้านไปเผาข้าวหลามที่ได้เตรียมกันไว้ เมื่อถึงวันรุ่งขึ้นชาวบ้านจะนำอาหารและข้าวหลามมาทำบุญเพราะเชื่อว่าเป็นการทำบุญสะเดาะเคราะห์ โดยการนำข้าวปลาอาหาร ขนม และย้ำใส่ในกาบหมาก โดยสมมติว่าเป็นเรือ หลังจากพระฉันภัตตาหาร และสวดมนต์เรียบร้อยแล้ว ชาวนาก็จะนำกากหมากออกไปทิ้งไว้ข้างทางเพื่อให้ผีไม่มีญาติได้กินกัน เมื่อตกกลางคืนก็จะมีการทำกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะแสดงลิเก ภาพยนตร์ วงดนตรี
  • และสุดท้ายประเพณีของจังหวัดปราจีนบุรีและสระแก้ว  นั่นคือ งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ทุกๆ วันที่ 16 เม.ย. ของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้วให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง  โดยเริ่มจากบริเวณศาลเจ้าพ่อพระปรง ม.8 มาตามถนนสุวรรณศร สระแก้ว-กบินทร์บุรี เรื่อยไปตามถนนสาย304 เข้าแยกปากท้องบ้านทุ่งแฝก สู่ตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์  โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น  เป็นประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวันออก วิถีชีวิต ของชาวอำเภอกบินทร์บุรี ซึ่งมีการจัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านานและโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา โดยเริ่มตั้งแต่ในช่วงเช้าของวันที่ 15 เมษายน จะมีการอัญเชิญองค์เจ้าพ่อพระปรงลงประทับที่แท่นต่ำ เพื่อให้ประชาชนทำการปิดทองและสรงน้ำ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์

ประเพณีภาคตะวันออก ที่ในปัจจุบันนั้นได้รับการสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเพราะส่วนใหญ่ ประเพณีขึ้นชื่อภาคตะวัน วัฒนธรรม อันโดดเด่นของไทยนั้นจะจัดงานกันอย่างยิ่งใหญ่อลังการ จนเหมือนว่าเป็นการปิดเมืองเพื่อจัดเทศกาลนั้นไปเลยก็ว่าได้ ซึ่งนั้นก็สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศได้เป็นอย่างดี

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร เป็นประเพณีที่จัดสืบทอดต่อกันมา มากว่าร้อยปีแล้ว

40 ที่เที่ยวชลบุรีอัพเดทใหม่ปี 2023 ปักหมุดแล้วไปเที่ยวกันเลย

Categories
ประเพณี

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร เป็นประเพณีที่จัดสืบทอดต่อกันมา มากว่าร้อยปีแล้ว

งานนมัสการหลวงพ่อโสธรเป็นประเพณีที่สำคัญของชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยในปี 2565 นี้ จัดขึ้นเป็นปีที่ 132 แล้ว ซึ่งแต่เริ่มแรกนั้น งานนมัสการหลวงพ่อโสธร จัดขึ้นเมื่อกลางเดือน 12 ในปี พ.ศ.2434 โดย โต้โผทรัพย์ เจ้าของละครคลองโสธร เนื่องจากว่า ในปีนั้น ชาวเมืองเกิดความยากลำบาก ข้าวยากหมากแพง มีโรคระบาด ทั้ง โรคอหิวาต์ และโรคฝีดาษ งานนมัสการหลวงพ่อโสธรที่น่าเคารพ ทำให้ทุกคนลำบากยากเข็ญอย่างมาก ทุกคนจึงได้บนบานแก่หลวงพ่อโสธร จึงทำเกิดให้เป็นประเพณีขึ้นมา 

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร เพื่อร่วมนมัสการและขอพรจากองค์พระพุทธโสธรงานแห่ที่ยิ่งใหญ่

งานเทศกาลกลางเดือน 12 เทศกาลนี้ได้จัดสืบต่อกันมานานกว่าร้อยปีแล้ว คือ เริ่มจัดขึ้นในราว พ.ศ. 2434 โดยมีมูลเหตุมาจากในปีนั้น ประชาชนในท้องถิ่นประสบทุพภิกขภัย ข้าวยากหมากแพง ฝนแล้ง ทำการเพาะปลูกไม่ได้ผล ทั้งยังเกิดโรคอหิวาต์และฝีดาษระบาดทั่วไป ทำให้ผู้คนและสัตว์เลี้ยงล้มตายเป็นจำนวนมาก เมื่อถึงคราวเข้าตาจนเช่นนี้ชาวบ้านต่างพากันบนบานศาลกล่าว ต่อหลวงพ่อให้ช่วยขจัดปัดเป่าทุกข์ภัยเหล่านี้ ให้ช่วยลูกช้างด้วย บ้างก็ขอยาดีหลวงพ่อ คือขี้ธูปบ้าง น้ำมนต์บ้าง ดอกไม้ที่บูชาบ้าง รับมาทานมาทา บ้างก็บนบานว่า ถ้าหายแล้วจะปิดทอง บ้างก็บนบานด้วยละครและมหรสพสมโภช คนไทยบนด้วยลิเกและละครแก้บน ฝ่ายจีนก็บนงิ้ว ล่อโก๊ สิงโต ฯลฯ  งานนมัสการหลวงพ่อพุทธโสธร ด้วยมหรสพสมโภชบ้าง และด้วยสิ่งอื่น ๆ กล่าวกันว่าความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อ เป็นเรื่องมหัศจรรย์ที่บันดาล ให้เกิดฝนโปรยปรายลงมา ทำให้แผ่นดินชุ่มชื้น โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ หายเป็นปลิดทิ้ง ชาวบ้านจึงร่วมใจกันจัดงานฉลองสมโภชหลวงพ่อครั้งใหญ่เพื่อแก้บน งานนมัสการหลวงพ่อโสธรที่น่าเคารพ แต่เดิมงานเทศกาลในเดือนนี้มี 3 วัน คือ วันขึ้น 14-15 ค่ำ และวันแรม 1 ค่ำ เดือน 12 ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 ได้จัดเพิ่มขึ้นอีก 2 วัน คือ วันขึ้น 12-13 ค่ำ เดือน 12 รวมทั้งสิ้นเป็น 5 วัน และถือปฏิบัติสืบเนื่องมาจนทุกวันนี้ ในวันขึ้น 14 ค่ำจะมีการแห่หลวงพ่อทางบก วันขึ้น 15 ค่ำ มีการแห่ทางน้ำ และวันแรม 1 ค่ำ ซึ่งเป็นวันสุดท้ายมีการเวียนเทียนและสรงน้ำพระ งานเทศกาลตรุษจีน จัดตามจันทรคติของจีน คือ ตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ปีใหม่ (ชิวอิด) ไปจนถึงวันขึ้น 5 ค่ำ (ชิวโหงว) รวม 5 วัน 5 คืน ถ้าเทียบเป็นเดือนไทยก็คือ ราวเดือนยี่หรือเดือนสาม  นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการ ส่วนราชการ สินค้าราคาถูกจากบริษัท ห้างร้านมอเตอร์โชว์ การชมคอนเสิร์ตจากศิลปิน นักร้องชื่อดัง พร้อมกับซื้อสินค้าราคาถูก และชมการแสดงมหรสพอื่น ๆ อีกมากมายตลอดงาน งานเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธร จัดขึ้นปีละ 3 ครั้ง โดยกำหนดวันทางจันทรคติตามลำดับ คือ

  • งานเทศกาลกลางเดือนห้า เริ่มตั้งแต่วันขึ้น 15 ค่ำ ถึง แรม 2 ค่ำ รวม 3 วัน 3 คืน ถือว่าเป็นงานฉลองสมโภชในวันที่ อาราธนาหลวงพ่อพุทธโสธรขึ้นจากน้ำ งานนมัสการหลวงพ่อโสธรที่น่าเคารพ มาประดิษฐานที่วัดแห่งนี้
  •  งานเทศกาลกลางเดือนสิบสอง เริ่มงาน วันขึ้น 12 ค่ำ ถึงวันแรม 1 ค่ำ (เดือนพฤศจิกายน)เนื่องมาจากในปี พ.ศ. 2433 เกิดโรคฝีดาษระบาด ไปทั่ว ชาวบ้านจึงบนบานต่อหลวงพ่อพุทธโสธรขอให้หาย จึงได้จัดพิธีสมโภชจนกลายเป็นประเพณี สืบต่อกันมา ปัจจุบันทางจังหวัดฉะเชิงเทราและทางวัดโสธรฯ ได้ร่วมกันจัด งานนมัสการหลวงพ่อโสธรอันศักดิ์สิทธิ์ งานนมัสการ พระพุทธโสธร และงานกาชาดจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นประจำทุกปี มีการเฉลิมฉลอง เป็นงานประจำปีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัด เริ่มจากมีพิธีการบวงสรวงสถานที่สำคัญ 4 แห่ง ได้แก่ องค์หลวงพ่อพุทธโสธร, ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง, พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5, กรมหมื่นมรุพงษ์ศิริพัฒน์ ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลปราจีนบุรี
  • งานเทศกาลตรุษจีน ระหว่างวันขึ้น 1-5 ค่ำ เดือน 3 รวม 5 วัน หลวงพ่อโสธรนั้นมีคสามสำคัญมาก เพราะเป็นพระพุทธรูปที่เชื่อถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ จึงมีประชาชน ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เดินทางไปนมัสการอย่างเนืองแน่นทุกวัน งานนมัสการหลวงพ่อโสธรฉะเชิงเทรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันเทศกาลสำคัญและวัน นักขัตฤกษ์ จะมีผู้มานมัสการจำนวนมากกว่าวันปกติทั่วไป ในส่วนของพิธีกรรมนั้น งานเทศกาลกลางเดือน 5 จัดขึ้นรวม 3 วัน 3 คืน นับตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่ำ จนถึงวันแรม 1 ค่ำ เดือน 5 เทศกาลนี้จัดฉลองสมโภช เนื่องจากเชื่อกันว่าเป็นวันคล้ายวันที่อาราธนาหลวงพ่อขึ้นจากแม่น้ำ แล้วอัญเชิญท่านมาประดิษฐาน ที่วัดโสธรวรวิหาร 
งานนมัสการหลวงพ่อโสธร

งานนมัสการ หลวงพ่อโสธร เป็นประเพณีที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก เพราะประเพณีจัดเพื่อให้ทุกท่านนั้นได้ร่วมนมัสการและขอพรจากองค์พระพุทธโสธรงานแห่ที่ยิ่งใหญ่ งานนมัสการหลวงพ่อโสธรฉะเชิงเทรา พร้อมร่วมนมัสการหลวงพ่อโสธร เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว นับว่าเป็นอีกหนึ่งประเพณีที่ต้องถูกใจสายบุญแน่ๆ 

ประเพณีวิ่งควายชลบุรี ประเพณีขึ้นชื่อของชาวจังหวัดชลบุรีที่ไม่ควรพลาด

เยี่ยมชมตึกแดงอ่างศิลา ตึกเก่าโบาราณของจังหวัดชลบุรี