Categories
กิจกรรม ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว เทศกาล

รวมประเพณีจังหวัดระยอง เป็นจังหวัดที่มีประเพณีหลากหลายรูปแบบที่น่าสนใจ

รวมประเพณีจังหวัดระยอง ระยองเมืองคนรวย ที่เที่ยวเยอะ ผลไม้อร่อย  

รวมประเพณีจังหวัดระยอง

ระยองเป็นจังหวัดขนาดเล็กแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศ  เป็นที่รู้จักในปัจจุบันว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว มีผลไม้ชั้นยอด รวมประเพณีจังหวัดระยอง แต่เดิมจังหวัดระยองเป็นที่รู้จักในฐานะเมืองผลไม้ดีของภาคตะวันออก ไม่ว่าจะเป็นมังคุด ทุเรียน เงาะ รวมทั้งอาหารทะเลสด แปรรูป กะปิ น้ำปลา เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศที่เอื้ออำนวย และสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังได้ชื่อว่าเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สวยงาม และยังมีเกาะสวยงามระดับโลก เช่น เกาะเสม็ด  รวมประเพณีจังหวัดระยอง เมืองผลไม้ดี อีกทั้งจังหวัดระยองของเรานั้น ยังมีประเพณีที่หลากหลายอีกด้วย ประเพณีในจังหวัดระยองของเรานั้นนับว่ามีการสืบทอดสู่ๆ กันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เราขอบอกทุกท่านเลยว่าประเพณีของระยองนั้นมีดีไม่แพ้จังหวัดอื่นอย่างแน่นอน 

รวมประเพณีจังหวัดระยอง เป็นจังหวัดทางภาคตะวันออก ที่ต้องมาให้ได้สักครั้งในชีวิต

จังหวัดระยองของเรานั้นเป็นเมืองแห่งแหล่งท่องเที่ยว แถมผลไม้ยังอร่อยอีกด้วย แต่ขอบอกเลยว่าจังหวัดของเรายังมีดีในเรื่องของประเพณีอีกด้วย รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่จัดทุกปี ในแต่ละปีนั้นจังหวัดของเราก็จะมีการจัดเทศกาลต่างๆ เพื่อสืบทอดและอนุรักษณ์ประเพณีดั้งเดิมของจังหวัดอีกด้วย รวมประเพณีจังหวัดระยอง บอกเลยว่าแต่ละประเพณีมีความโด่ดเด่นที่แตกต่างกันออกไป ใครๆ ก็อยากมาท่องเที่ยวที่จังหวัดของเรา

เทศกาลผลไม้ ระยอง
  • ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองผลไม้อร่อย สำหรับวันนี้เราขอเริ่มต้นจาก เทศกาลผลไม้และของดีเมืองระยอง เป็นงานเทศกาลประจำปีของจังหวัดระยอง ที่มีมานานนับหลายสิบปี ในอดีตเป็นเพียงการนำผลไม้ และผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายร่วมกัน แต่ต่อมาจึงมีการจัดงานให้ยิ่งใหญ่ขึ้น ปัจจุบันได้มีการจัดงานที่ตลาดกลางเพื่อการเกษตรและผลไม้ตะพง รวมประเพณีจังหวัดระยอง เมืองผลไม้ดี ซึ่งเทศกาลนี้นั้นจะจัดในช่วงฤดูผลไม้ เป็นเวลา 1 สัปดาห์เลยทีเดียว ประมาณราวเดือนพฤษภาคม ของทุกปี และสิ่งที่น่าสนใจที่สุดเลยนั่นก็คือวันเปิดงาน ในวันนั้นจะมีขบวนแห่รถประดับผลไม้จากสวนศรีเมืองมายังตลาด มีประกวดธิดาชาวสวนที่สวนศรีเมือง  และหลังจากนั้นก็จะมีการแข่งขันรับประทานผลไม้ ส่วนวันอื่น ๆ นั้นก็มีเฉพาะการออกร้านจำหน่ายผลิตผลทางการเกษตร โดยเฉพาะผลไม้ต่างๆ นานาชนิด 
ประเพณีทำบุญกลางทุ่ง
  • ประเพณีทำบุญกลางทุ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย2อย่างด้วยกัน นั่นก็คือ การทำบุญขอฝน และทำบุญข้าวใหม่หรือทำบุญข้าวหลาม จัดขึ้นช่วงเดือนสาม หลังเก็บเกี่ยวข้าวในนาแล้ว การทำบุญข้าวใหม่นั้นทำเพื่อรับขวัญข้าวใหม่ที่เก็บเกี่ยวเสร็จ ถือเป็นงานมงคลประจำหมู่บ้านและเป็นการสร้างขวัญ กำลังใจให้แก่ชาวนาอีกด้วย เมื่อถึงวันงานชาวบ้านจะนิมนต์พระมาสวดมนต์ที่ปะรำพิธีกลางทุ่งนา เรียกว่าสวดมนต์เย็น พอรุ่งเช้าก็จะร่วมกันทำบุญตักบาตรแล้วกลับบ้านไปเผาข้าวหลามที่ได้เตรียมกันไว้ รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่ทุกคนต้องมา เมื่อถึงวันรุ่งขึ้นชาวบ้านจะนำอาหารและข้าวหลามมาทำบุญเพราะเชื่อว่าเป็นการทำบุญสะเดาะเคราะห์ หลังจากพระฉันภัตตาหาร และสวดมนต์เรียบร้อยแล้ว ชาวนาก็จะนำกากหมากออกไปทิ้งไว้ข้างทางเพื่อให้ผีไม่มีญาติได้กินกัน เมื่อตกกลางคืนก็จะมีการทำกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะแสดงลิเก ภาพยนตร์ วงดนตรี
ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้ำของชาวปากน้ำประแสร์
  • ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้ำของชาวปากน้ำประแสร์ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง เราขอบอกทุกท่านเลยว่า ประเพณีนี้เป็นประเพณีที่มีแห่งเดียวในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ ในงานจะมีการทอดผ้าป่าในเวลากลางวันและลอยกระทงในเวลากลางคืน การทอดผ้าป่ากลางน้ำของชาวประแสร์นั้น เป็นไปตามวิถีชีวิตของผู้คนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ติดกับแม่น้ำ อันได้แก่ แม่น้ำประแสร์ ประชาชนที่มีอาชีพประมง รวมประเพณีจังหวัดระยอง ไม่มาไม่ได้แล้ว  ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้ำนี้นั้นมีการสันนิษฐานว่ามีการสืบทอดกันมานานกว่า 100 ปีแล้ว
งานวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช งานกาชาดจังหวัดระยอง
  • งานวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช งานกาชาดจังหวัดระยอง ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนมกราคม ณ บริเวณสนามกีฬากลาง จังหวัดระยองนั้นได้กำหนดจัดงานวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และงานกาชาดจังหวัดระยอง รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่ทุกคนต้องมา ซึ่งเป็นงานประเพณีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ขึ้นเป็นประจำในทุกๆ ปี ภายในงานก็จะจัดให้มีการจัดนิทรรศการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง การแสดงสินค้า OTOP และสินค้าอุตสาหกรรมของภาคเอกชน การจำหน่ายสินค้าราคาถูกจากโรงงานที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรม การออกร้านกาชาด กิจกรรม รวมไปถึงมีการแสดงมหรสพในทุกคืน และการแสดงต่างๆ มากมายอีกเช่นกัน

รวมประเพณีจังหวัดระยอง อีกหนึ่งจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศ ที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบัน ว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว มีผลไม้ชั้นยอด อีกทั้งในแต่ละปีนั้นจังหวัดระยองของเราจะมีการจัดเทศกาลต่างๆ เพื่อสืบทอดและอนุรักษณ์ประเพณีดั้งเดิมของจังหวัดอีกด้วย รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่จัดทุกปี บอกเลยว่าจังหวัดของเราน่ามาท่องเที่ยว และยังมีประเพณีที่น่าสนใจหลากหลายอีกด้วย

 

 

 

สนับสนุนโดย :

สมัครบาคาร่า ที่เว็บคาสิโน888 เราเป็นเว็บคาสิโนที่สมัครง่ายที่สุด เกมคาสิโน สล็อต บาคาร่าเล่นง่าย ได้เงินจริง และยังสามารถดาวน์โหลดเอาไว้เล่นบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนได้

Categories
ข้อมูล ประเพณี เทศกาล

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดทางภาคตะวันออกของประเทศไทย

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดทางภาคตะวันออกของประเทศไทย

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีของเรานั้น นับว่าเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน เพราะว่าจังหวัดของเรานั้นมีการพบซากโบราณสถาณ ในหลายพื้นที่ของจังหวัด ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี นอกจากนนั้นแล้วจังหวัดปราจีนบุรี ยังมีแหล่งที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติอีกมากมายหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติ อยู่ในเขตมรดกโลกถึง3 แห่งด้วยกัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี  เมืองประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่าไม้มากที่สุด ของภาคตะวันออกอีกด้วย เดิมที่จังหวัดปราจีนบุรีนั้น มีพื้นที่ที่กว้างใหญ่มากๆ จนกระทั่งได้มีการจัดตั้งจังหวัดสระแก้วแยกออกจากจังหวัดปราจีนบุรี

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี รวมประเพณีที่สำคัญที่ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองประวัติศาสตร์

จังหวัดปราจีนบุรีนั้นมีประเพณีท้องถิ่น ที่นิยมปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ไม่ว่าจะเป็นประเพณีแห่นางแมว ประเพณีแข่งเรือยาว ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ประเพณีบั้งไฟ และอีกหลายๆ ประเพณี ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี น่าท่องเที่ยว ซึ่งบอกเลยว่าน่าสนใจทุกประเพณีเลย เพราะแต่ละประเพณีนั้นมีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไป 

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • ประเพณีบุญบั้งไฟที่ได้รับมาจากภาคอีสาน จัดตรงกับวันวิสาขบูชา เพื่อบูชาเทพยาดาอารักษ์ ให้ฝนตกตามฤดูกาล ชาวนา ชาวไร่ จะได้ทำนาอย่างไม่มีอุปสรรค ได้ผลอุดมสมบูรณ์ตลอดปี ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ที่น่าสนใจ ในจังหวัดปราจีนบุรีนั้น นิยมจัดเป็นงานใหญ่ประจำปีที่วัดต้นโพธิ์ อำเภอศรีมโหสถ ซึ่งในงานนั้นมีการจัดบุญบั้งไฟขึ้นสูง มีการประกวดรำเซิ้งของขบวนแห่บั้งไฟ แถมยังมีการแสดงมหรสพสมโภชอีกด้วย 
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • งานวันเกษตรและของดีเมืองปราจีนบุรี ซึ่งจัดขึ้นที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด ในช่วงเดือนพฤษภาคม-เดือนมิถุนายนของทุกๆ ปี นอกจากเกษตรกรจะนำผลไม้จำหน่ายแล้ว ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ที่น่าสนใจ ในงานยังมีกิจกรรมการประกวดต่างๆ มากมายเลย ไม่ว่าจะเป็นการประกวดคุณภาพของผลไม้ การประกวดผลไม้ที่ใหญ่ที่สุด อย่างเช่น ขนนเอย ทุเรียนเอย กระท้อนเอย และผลไม้อีกนานาชนิด
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ทุกๆ วันที่ 16 เมษายนของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้ว ให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี มาแล้วจะติดใจ โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรงกัน  เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น ชาวอำเภอกบินทร์บุรีนั้นได้จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านาน และโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • งานประเพณีการแข่งเรือยาว จะเป็นงานประจำมาตั้งแต่พ.ศ. 2528 โดยจัดขึ้นที่แม่น้ำบางปะกง หรือแม่น้ำปราจีนบุรีนั่นเอง บริเวณสะพานณรงค์ดำริไปจนถึงหน้าวัดหลวงปรีชากูล อำเภอเมืองปราจีนบุรีเลยก็ว่าได้ ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันนั้น จะได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารรี ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี น่าท่องเที่ยว จึงทำให้เทศกาลการแข่งขันเรือยาวนั้น ได้รับความสนใจจากจังหวัดต่างๆ ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางอีกด้วย โดยแต่ละภาคนั้นได้มีการส่งเรือมาร่วมแข่งขันกับทางจังหวัดปราจีนบุรี ปกติแล้วงานนี้จัดในช่วงเดือนกันยายน หรือเดือนตุลาคมของทุกปี แล้วแต่ความสูงของระดับน้ำ
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • ประเพณีแห่นางแมว เป็นอีกหนึ่งประเพณีขึ้นชื่อของจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประเพณีที่เล่นเพื่อขอให้ฝนตกตรงตามฤดูกาล เพื่อที่ทำให้ชาวนา ชาวไร่ จะได้ทำนากันได้อย่างไม่มีอุปสรรค ถ้าหากว่าฝนไม่ตก หรือสภาพอากาศแห้งแล้งเกินกว่ากำหนด ชาวนาบางส่วนก็จะรวมกลุ่มกันขอฝน ด้วยการเอานางแมวหนึ่งตัวใส่กระชัง หามกันสองคน และเดินแห่ไปตามหมู่บ้านต่างๆ ในช่วงเวลากลางวันหรือไม่ว่าจะเป็นกลางคืนก็ได้ แล้วแต่สะดวกเลย ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี เมืองประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังมีพวกถือพานเอย บ้างก็ถือกระบุง เดินตามขบวน เมื่อชาวบ้านอื่นเห็นขบวนแห่นางแมวผ่านไปแล้ว ก็จะนำน้ำมาสาดนางแมว และรวมไปถึงสาดน้ำใส่พวกขบวนแห่ด้วย แถมยังมีชาวบ้านมอบข้าวสารใส่กระบุง ให้เงินใส่พาน มอบให้กับคนแห่ในขบวน และหลังจากทำกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วนั้น ชาวนาก็จะนำสิ่งของที่ได้มาจากชาวบ้านนำไปถวายแก่วัดเพื่อความเป็นสิริมงคล 

จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมายหลายแห่งด้วยกัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ของเรานั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ มีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมรดกโลกถึง 3 แห่งด้วยกัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี มาแล้วจะติดใจ อีกทั้งยังประเพณีต่างๆ ที่สำคัญของคนในจังหวัด บอกเลยว่าเป็นจังหวัดที่น่ามาท่องเที่ยวมากเลยทีเดียว

 

 

 

สนับสนุนโดย :

เว็บบาคาร่าที่คนเล่นเยอะที่สุดทำเงินด้วยมือถือ รองรับทุกระบบ ฝาก-ถอนออโต้ เว็บคาสิโนออนไลน์ที่ดีที่สุดในปี2022

Categories
ประเพณี เทศกาล

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก ความร่วมมือจากชาวบ้านทุกกลุ่ม

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก ในวันพระเดือน 3

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก

การทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชนทั้งรุ่นเก่าและรุ่นใหม่นั้นถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะจะเป็นการมีส่วนร่วมได้อนุรักษ์วัฒนธรรมต่างๆให้อยู่คู่บ้านเมืองไปตลอดกาล โดย ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก  นั้นถือว่าได้รับความนิยมที่ร่วมปฏิบัติมาอย่างยาวนาน เรียกได้ว่าเป็นประเพณีที่ได้ทั้งความเป็นสิริมงคลรวมไปถึงการได้ร่วมบุญพร้อมหน้าพร้อมตากับคนในครอบครัวอีกด้วย ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ท้องถิ่นดั้งเดิม ถวายสังฆทานและข้าวหลามที่เป็นปัจจัยสำคัญของประเพณีนี้

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก มรดกจากรุ่นปู่ย่าตายายของคนในชุมชน

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก

การร่วมทำ ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ไหว้พระทำบุญ ในภาคตะวันออกของเรานั้นจะร่วมกันทำทุกวันขึ้น  ค่ำเดือน 3 หรือเรียกอีกอย่างว่าให้ทำกิจกรรมในวันพระวันมาฆบูชานั่นเอง ชาวบ้านในทุกจังหวัดจะรวมตัวกันทำข้าวหลามเพื่อจะนำไปสักการะพระทำบุญ กราบไหว้กันแบบเน้นที่รสชาติ หวาน มันเค็ม 3 รส โดยลักษณะพิเศษคือมีดังนี้

  • การนำเอาข้าวเหนียวที่ผสมกะทิเรียบร้อยพร้อมปรุงเสร็จสับ นำมากรอกกระบอกไม้ไผ่
  • จากนั้นนำไปเผาบนดินตามแบบโบราณ (บางครอบครัวหรือชุมชนจะเอามาเผาพร้อมกัน) การเผาบนดินแบบโบราณนั้นชาวบ้านจะต้องขุดดินบนลานกว้างโล่ง แล้วตั้งกระบอกข้าวหลาม ก่อไฟขนานไปกับกระกอกข้าวหลาม 
  • หลังจากเผาข้ามหลามจนได้ที่ ชาวบ้านก็จะนำไปแบ่งกันและไปทำบุญที่วัดใกล้บ้าน 

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ท้องถิ่นดั้งเดิม ถือเป็นการเชิญชวนให้ลูกหลาน ญาติพี่น้องที่ไม่ได้พบเจอกันมายาวนานได้ทำกิจกรรมร่วมกัน รวมไปถึงเพื่อนบ้านเรือนเคียงด้วย นอกจากจะได้ความสนุกสนานในการทำข้าวหลามแล้วนั้น ทุกคนที่ได้ร่วมทำกิจกรรมนั้นจะได้รับบุญกุศลจากการไปงาน โดย ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก  อีกด้วย เรียกได้ว่ามีประโยชน์ถึงสองต่อเลยทีเดียว 

ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก

นอกจากนี้ประเพณีในภาคตะวันออกยังมีอีกมากมายหลากหลายอย่าง ที่คนในชุมชนและชาวบ้านจะได้ร่วมรับความสนุกสนานและได้รับประโยชน์มากมายจากการเข้าร่วม แต่ ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ประจำภาคตะวันออก เป็นสิ่งที่ได้รับมรดกมาจากคนเฒ่าคนแก่และยังเป็นประเพณียอดนิยมอีกด้วย ถือว่าโด่งดังและเป็นที่ร็จักกันเป็นอย่างดีอขงคนทั่วไป ซึ่ง ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ท้องถิ่นดั้งเดิม ยังมีรูปแบบการทำกิจกรรมที่แตกต่างกันของแต่ละภาคอีกด้วย ไม่ว่าภาคใดที่มีการจัดประเพณีนี้ล้วนแต่ต้องเผาข้าวหลามและมีวิธีเหมือนกัน  แต่บางภาคอาจจะเดินขึ้นเขาไปสักการะเพื่อกราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ด้วย ประเพณีทำบุญข้าวหลาม ไหว้พระทำบุญ ถือเป็นกิจกรรมที่จะช่วยอนุรักษ์และช่วยฟื้นฟูศาสนาให้อยู่คู่เด็กรุ่นหลังต่อไปได้อีกด้วย เป็นสิ่งที่ดีงามอันดีและยังได้มีโอกาสลิ้มรสข้าวหลามเผารสชาติที่ดีที่สุด

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

https://sa-game.bet/สมัครบาคาร่า888/ เว็บบาคาร่าและคาสิโนออนไลน์ที่ดีที่สุด พร้อมโปรโมชั่น2022 ฝากถอนออโต้ไม่มีขั้นต่ำ

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี

ประเพณีขึ้นขื่อของชลบุรี เมืองแห่งการท่องเที่ยวมาย ประเพณีหลากหลาย

ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี เป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่ใครๆ ก็อยากมากท่องเที่ยว

ชลบุรีนั้นเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเมืองที่เป็นศูนย์กลางของจังหวัดนั่นก็คือ เทศบาลเมืองชลบุรี เป็นจังหวัดที่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ แถมยังมีเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ คือ เมืองพัทยาอีกด้วย ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้ว ยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก ทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมไปถึงประเพณี และวัฒนธรรมต่างๆ ที่น่าสนใจไม่แพ้ที่ท่องเที่ยวอื่นๆเลยทีเดียว ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี ประเพณีคู่เมือง เพราะจังหวัดชลบุรีนั้นมีประเพณี และวัฒนธรรมหลายอย่างที่น่าสนใจ ด้วยเหตุจึงทำไห้จังหวัดของเราเป็นที่นิยมสำหรับนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติที่เดินทางกันเจ้ามาอย่างไม่ขาดสาย

ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี แหล่งท่องเที่ยวเยอะ มีประเพณีที่น่าสนใจ ถูกใจสายท่องเที่ยวแน่นอน

อย่างที่ทุกท่านทราบกันดีอยู่แล้วว่า จังหวัดชลบุรีของเราเป็นเมืองขึ้นชื่อแห่งการท่องเที่ยว ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี รวมทั้งยังมีประเพณีต่างๆ มากมายที่น่าสนใจหลายประเพณีเลยทีเดียว ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี ประเพณีคู่เมือง ขอจึงขอยกตัวอย่างมนตร์เสน่ของประเพณีไทยประเพณีดั้งเดิมของจังหวัดชลบุรีให้ทุกท่านได้ตื่นตาใจตื่นใจกับจังหวัดของเรา

  • เริ่มกันที่ประเพณีแรก นั่นก็คือ ประเพณีกองข้าว อำเภอศรีราชา เป็นประเพณีอันเก่าแก่ของชาวเมืองชลบุรีเลยว่าได้ ซึ่งปัจจุบันได้จัดขึ้นที่อำเภอศรีราชา ที่ยังคงรักษาประเพณีนี้อยู่ โดยจัดให้มีขึ้นเป็นประจำ วันที่ 19-21 เดือน เมษายนของทุกปี ในส่วนของสถานที่จัด จะอยู่ที่อยู่บริเวณหน้าสำนักงาน เทศบาลตำบลศรีราชา และที่บริเวณเกาะลอยศรีราชา ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรรี ถูกใจสายท่องเที่ยว กิจกรรมของงานหลากหลายกิจกรรมด้วยกัน ประกอบไปด้วย การจัดขบวนแห่ที่นำโดยกลุ่มผู้เฒ่า ผู้แก่และหน่วยงานต่าง ๆ ที่แต่งกายด้วยชุดไทยประจำบ้านที่มีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์เข้าร่วมในขบวนพิธีบวงสรวง และเซ่นสังเวยผี การสาธิต ประเพณีกองข้าว การละเล่นพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่าย ขนมพื้นบ้าน และอาหารพื้นเมืองอีกด้วย
  • งานประจำปีจังหวัดชลบุรี ขอบอกก่อนเลยว่าเป็นงานประจำปีของชาวจังหวัดชลบุรี ซึ่งได้ร่วมกันจัดขึ้น และติดต่อกันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จนมาถึงปัจจุบัน จุดเด่นของงานนี้ก็คือ ได้รวมงาน นมัสการพระพุทธสิหิงค์ งานสงกรานต์ และงาน กาชาด ไว้ด้วยกัน โดยถือเอาประมาณกลางเดือนเมษายนของทุกปี เป็นวันจัดงาน ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี น่าจดจำ ซึ่งภายในงานนั้นก็จะประกอบไปด้วยขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ พิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ การละเล่นพื้นบ้าน การแสดงโขนของกรมศิลปากร และการแสดงทางวัฒนธรรม นิทรรศการ และ การออกร้าน เพื่อเป็นการส่งเสริม และรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นบอกเลยว่าเป็นงานที่น่าสนใจมากเลยทีเดียว
  • อีกหนึ่งประเพณีที่น่าสนใจไม่แพ้กันเลย ในภาคตะวันออกนั้นจะแตกต่างจากภาคอื่นๆ ก็คือ จะมีการเริ่มเล่นสาดน้ำกันประมาณวันที่ 16 หรือ 17-18-19 เมษายน โดยเรียกกันว่า วันไหล สำหรับเมืองพัทยา ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี มนต์เสน่ห์ของจังหวัด ได้กำหนดมีการจัดงานวันไหลในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี โดยมีกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พิธีรดน้ำดำหัว ขบวนแห่วันไหล การสาดน้ำกันอย่างสนุกสนานของประชาชน และ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยชาวต่างประเทศ เป็นประเพณีที่ใครๆ หลายคนตั้งหน้าตั้งตารอคอยเลยทีเดียว
  • ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจำจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วันนั่นเอง ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี ประเพณีคู่เมือง จุดประสงค์หลักของงานเลยก็เพื่อเป็นการทำขวัญควายและ ให้ควายได้พักผ่อนหลังจากการทำนามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายนั้นยังเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยด้วย อีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านนั้นได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์ สนุกสนาน เฮฮาด้วยกันในงานวิ่งควาย อีกทั้งภายในงานนั้นก็จะมีการนำผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้าน ร้าน ตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูงควายกันเข้ามาเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ ชาวนาต่างก็พากันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทำให้เกิดการประกวดประชันความสวยงามของควายเกิดขึ้นอีกด้วย พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย

จังหวัดชลบุรีนับว่าเป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่น่าท่องเที่ยว ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี เพราะมีแหลงท่องเที่ยวเยอะ อีกทั้งจังหวัดชลบุรีนั้นมีประเพณี และวัฒนธรรมหลายอย่างที่น่าสนใจ เป็นจังหวัดที่มีมนต์เสน์ไม่น้อยเลยทีเดียว ประเพณีขึ้นชื่อของชลบุรี น่าจดจำ ด้วยเหตุจึงทำไห้จังหวัดของเราเป็นที่นิยมสำหรับนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติที่เดินทางกันเจ้ามาอย่างไม่ขาดสาย สำหรับใครที่ลังเล เราขอบอกเลยว่าทุกท่านจะไม่ผิดหวังแน่นอน

 

 

 

sa gaming

Categories
ข้อมูล ประเพณี

ประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดตราด ภาคหนึ่งของไทย

ประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดตราด ประวัติและความเป็นมา

จังหวัดตราดนั้นถือว่าเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยที่ทางภาคตะวันออก เป็นจังหวัดที่ติดกับชายฝั่งทะเลในอดีตสมัยอยุธยานั้นเป็นเมืองการค้าที่สำคัญ และในปัจจุบันก็ถือว่าเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ทำให้มีประชาชนอพยพถิ่นฐานมาอยู่จำนวนมาก โดยส่วนใหญ่คนจังหวัดตราดนั้นจะเป็นคนที่มีจิตใจเมตตา กรุณาเอื้อเฟื้อและกล้าหาญ แน่นอนว่าภายในจังหวัดนั้นมีความเป็นมาอย่างยาวนานและมี ประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดตราด ต่างๆมากมายที่หน้าสืบทอด เนื่องจากเป็นสิ่งอันดีงามที่บรรพบุรุษได้ส่งต่อมาจากรุ่นสู่รุ่นนั่นเอง ประเพณีวัฒนธรรม ที่มีคุณค่า  มีหลายประเภททั้งการแต่งตัว ความเชื่อต่างๆ รวมไปถึงการร่วมทำกิจกรรมด้วยกัน สร้างความสามัคคีของคนในชุมชนให้มีความแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น

ประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดตราด ได้จำแนกเอาไว้หลายประเภท ดังนี้

อย่างที่บอกไปข้างต้นว่า ประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดตราด นั้นมีมากมายหลากหลายรูปแบบ เนื่องจากมีประชาชนที่อพยพมาจากหลายพื้นที่ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีความเชื่อและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันไป เมื่อย้ายมาอยู่เป็นจำนวนมากก็จะทำให้เกิดความแตกต่างทางวัฒนธรรมมากมาย แต่ทุก ประเพณีวัฒนธรรม ที่น่าสืบทอด นั้นล้วนเป็นสิ่งที่ดีงาม ดังนั้นทุกท่านจึงไม่ควรที่จะพลาดการเข้าร่วมและควรที่จะอนุรักษ์สืบทอดไว้ให้แก่ลูกหลานได้รู้จักกันต่อไป ประเพณีวัฒนธรรม อยู่คู่ตลอดไป นิยมและสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การเกิด การตาย รวมไปถึงงานศพต่างๆ  และยังรวบรวมกว้างทั้งการแต่งงาน การปลูกบ้านเรือน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้ถือว่าเป็นความเชื่อที่มีมาอย่างยาวนานตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย จึงได้สืบทอดให้คงอยู่จนถึงปัจจุบันนั่นเอง 

ในส่วนของการเกิดนั้น ชาวจังหวัดตราดเชื่อว่าคนท้องต้องเป็นคนที่มีจิตใจเมตตาอยู่ในศีลในธรรม ไม่ควรจะกล่าวถึงปมด้อยของบุคคลอื่น เนื่องจากจะส่งผลถึงลูกในครรภ์ หากตอนเกิดลูกนั้นจำเป็นจะต้องให้หมอตำแยมาทำการคลอดให้ในสมัยก่อนเนื่องจากการแพทย์แผนปัจจุบันนั้นยังไม่ได้เป็นที่นิยม และเมื่อคลอดเสร็จชาวบ้านจะนิยมเอาสายสะดือของเด็กมารวมกันไว้ในขวดเดียว ตามความเชื่อว่าเด็กทุกคนในครอบครัวจะเป็นคนที่มีความรักความสามัคคีกลมเกลียวกันนั่นเอง

การสร้างบ้านในอดีต นั้นถือว่าเป็นสิ่งที่คนในจังหวัดให้ความพิถีพิถันและเรื่องมากเป็นอย่างสูง เนื่องจากจะส่งผลให้การเป็นอยู่นั้นจะราบลื่น ถ้าเลือกสร้างบ้านไม่ดี โดยคนจังหวัดตราดจะมี ประเพณีวัฒนธรรม ที่มีคุณค่า ในการสร้างบ้านคือ ไม่หันหน้าไปทางทิศทั้ง 8 และจะให้ช่างปลูกบ้านที่มีความสามารถในการอ่านเลือกอ่านฤกษ์ยาม ในการลงเสาเข็ม มาทำพิธีให้เพื่อที่จะปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดีและดูฮวงจุ้ยต่างๆนั่นเอง

วัฒนธรรมอื่นๆ ประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดตราด นั้นถือว่ายังมีอีกมากมายหลายประเภท ซึ่งความเชื่อเหล่านี้ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่เสียหาย หากประชาชนร่วมกันปฏิบัติและล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดี ดังนั้นทุกท่านจึงควรที่จะอนุรักษ์และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรม ที่มีคุณค่า ไว้ให้คนรุ่นหลังต่อไปได้ร่วมทำ เพื่อความเป็นสิริมงคลและเพื่อความสบายใจในการดำเนินชีวิตในวันข้างหน้าต่อไปนั่นเอง

 

 

 

สมัครบาคาร่า

Categories
ประเพณี เทศกาล

ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว ประเพณีท้องถิ่น

ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว นับว่าเป็นอีกหนึ่งประเภณีที่สำคัญของจังหวัดสระแก้ว

เป็นประเพณีจากความริเริ่มของผู้นำท้องถิ่น โดยกำนันวรชัย ลบพื้น และนายอุดม โสภี ประธานสภาวัฒนธรรมตำบลเขาสามสิบ และชาวบ้านตำบลเขาสามสิบ ได้เป็นผู้มีส่วนร่วมส่งเสริมและฟื้นฟูประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวแม่โพสพขึ้นมา ซึ่งเล็งเห็นถึงความสำคัญของการทำนา ซึ่งเป็นอาชีพของเกษตรกรที่มีความผูกพันธ์กับคนไทยมาช้านาน อีกทั้งเป็นการบำรุงขวัญของเกษตรกรโดยให้เกษตรกรได้มีส่วนร่วมและเกิดความรักความสามัคคี มีกำลังใจพัฒนาอาชีพการทำนาให้มีความเจริญต่อไป ประเพณีนีบายศรีสู่ขวัญข้าวนับว่าเป็นประเพณีดั้งเดิม มาจากฮีต 12  ครอง 14 ที่เป็นจารีตประเพณีทั้ง 12 เดือนของคนลาว ที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อๆ กันมา ในประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวนั้นในบางท้องถิ่นจะเรียกว่า บุญคูณลาน (แถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) บุญกองข้าว (แถบภาคตะวันออก) ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว การทำบายศรีสู่ขวัญข้าวนั้น จังหวัดสระแก้วได้จัดขึ้นทุกปีเพราะเชื่อว่าพิธีบายศรีสู่ขวัญข้าวเป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณีและอนุรักษ์วัฒนธรรมชาวนาตำบลเขาสามสิบ และอีกทั้งยังเป็นประเพณีโบราณที่สืบทอดกันมาอย่างช้านาน ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว เพื่อความสิริมงคล ทั้งนี้ด้วยวิถีชีวิตในการยังชีพของคนไทยนั้น ต้องบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก ข้าวจึงผูกพันกับชีวิตคนไทยมานานนับหลายศตวรรษ และคนไทยเชื่อว่าข้าวเป็นสิ่งที่มีบุญคุณ มีจิตวิญญาณ มีเทพธิดาชื่อว่าแม่โพสพ  ประจำอยู่ในต้นข้าว คอยดูแลต้นข้าวให้เจริญงอกงาม ทำให้ชาวนาได้ผลผลิตข้าวที่อุดมสมบูรณ์ตลอดไป โดยกิจกรรมในภายในบายศรีสู่ขวัญข้าวตำบลเขาสามสิบ จะมีขบวนแห่ที่มีการตกแต่งด้วยรวงข้าวอย่างสวยงาม มีทั้งหมดถึง 13 ขบวนด้วยกัน 

ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว ซึ่งถือว่าเป็นประเพณีของเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพทำนา เป็นประเพณีท้องถิ่นที่มีการสืบทอดมาอย่างยาวนาน 

ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าว เป็นประเพณีท้องถิ่นของตำบลเขาสามสิบ อำเภอเขาฉกรรจ์ ซึ่งต่างจังหวัดสระแก้วร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อเป็นการขอขมาและขอบคุณแม่โพสพ หรือเทพีแห่งข้าว และยังมีความเชื่อกันว่าจะทำให้ชาวนาได้ผลผลิตข้าวอุดมสมบูรณ์ตลอดปีและตลอดไป ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว ที่ควรสืบทอด โดยทุกหมู่บ้านจะตกแต่งขบวนรถกันอย่างสวยงาม อีกทั้งยังมีขบวนเซิ้ง นางรำ เพื่อมาประกวดกันอีกด้วย โดยอัญเชิญรูปหล่อแม่โพสพมาไว้ตรงกลางประจำพิธี เพื่อประกอบพิธีสงฆ์ พิธีบายศรี ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว ตำบลเขาสามสิบ ซึ่งการทำบายศรีสู่ขวัญข้าวนั้น จะทำก่อนนำข้าวเปลือกเก็บใส่ยุ้ง หรือเปิดยุ้ง หรือนำข้าวเปลือกไปสีเป็นข้าวสารเพื่อหุงรับประทาน โดยชาวนาจะนำข้าวที่ได้นวดเสร็จเรียบร้อยแล้ว มากองรวมกันหรือว่านำรวงข้าวมาถักทอเป็นรูปต่างๆ ให้สวยงาม ประดับเป็นกองข้าวต่อหน้ารูปปั้นพระแม่โพสพ ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว เพื่อความสิริมงคล หลังจากเสร็จพิธีบายศรีข้าวแล้ว ในงามยังมีกิจกรรมต่างๆ มากมายที่ส่งเสริมให้ชาวบ้านในพื้นที่ได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างสนุกสนาน  ไม่ว่าจะเป็นการละเล่นพื้นบ้านที่นับว่าเป็นการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป แถมยังได้ร่วมรับประทานอาหารอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากันอีกด้วย และยังไม่หมดเพียงเท่านี้ ภายในงานนั้นได้มีการจัดกิจกรรมให้ชาวบ้านได้ร่วมประกวดหลากหลายกิจกรรมด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น

  • การจัดประกวดพันธุ์ข้าว
  • การประกวดตกแต่งขบวนรถแห่
  • การประกวดทำบายศรี
  • การออกร้านแสดงสินค้าพื้นบ้านนวัตกรรม
  • ยานยนต์การแสดงสินค้าเครื่องจักร อีกทั้งยังมีการจัดประกวดนิทรรศการจากหน่วยงานต่างๆ รวมไปถึงการจัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านให้กชาวบ้านทุกคนได้ร่วมสนุกสนานด้วยกัน ตลอดจนบริการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ

ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวนับว่าเป็นประเพณีท้องถิ่นของตำบลเขาสามสิบ ที่ได้มีการจัดทำขึ้นเป็นประจำทุกปี หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว สำหรับการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญเป็นการบูชาขอขมาและขอบคุณพระแม่โพสพ ที่หล่อเลี้ยงมวลมนุษยชาติ และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชาวนาผู้ปลูกข้าว ซึ่งจะกระทำในช่วงหลังฤดูการเก็บเกี่ยว ชาวนาจะนำข้าวที่นวดแล้วมากองรวมกัน หรือนำรวงข้าวมาถักทอเป็นรูปต่าง ๆ ประดับกองข้าวต่อหน้ารูปปั้นพระแม่โพสพ โดยเชื่อว่าหากไม่ทำบายศรีสู่ขวัญข้าวก่อนนั้น จะก่อให้เกิดความไม่สบายใจ นาข้าวในฤดูการผลิตต่อไปจะล่ม ผลผลิตจะไม่ดี ดังนั้น ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว นับว่าเป็นประเพณีที่จัดกันมาอย่างยาวนานนับหลายสิบปี เป็นประเพณีที่สำคัญสำหรับเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพทำนาเลยก็ว่าได้ รวมถึงเป็นการอนุรักษ์และส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวของสระแก้ว ที่ควรสืบทอด ต่อๆ กันไป ซึ่งเราขอบอกเลยว่าเป็นอีกประเพณีที่น่าสนใจและน่าร่วมสนุกด้วยเป็นอย่างมาก

 

 

 

 

สมัครบาคาร่า

Categories
ประเพณี เทศกาล

เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีน ประเพณีและเทศกาลสำคัญ ของจังหวัดปราจีนบุรี

เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีน ประเพณีและเทศกาลสำคัญ ของจังหวัดปราจีนบุรี เนื่องในวันมาฆบูชา

เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี ส่งเสริมให้ทุกคนละเว้นกรรมชั่ว กระทำแต่ความดี จิตใจผ่องใส

เป็นเทศกาลที่จัดขึ้นเนื่องในวันมาฆบูชาของทุกปี วันมาฆบูชา ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา ที่ให้พระพุทธศาสนาเอกชนได้หยุดรำลึกถึง ทั้งนี้ก็เพื่อให้ทุกคนนั้นมุ่งกระทำแต่ความดี ละเว้นซึ่งความชั่วทั้งหลาย เนื่องจากวันนี้เป็นวันเพ็ญกลางเดือน 3 ก่อนพุทธกาล เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี ถือว่าเป็นวันสำคัญ ที่มีพระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย เป็นจำนวน 1,250 รูป พระสงฆ์เหล่านั้นล้วนแต่เป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา เป็นพระอรหันต์ เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี ของชาวพุทธ ผู้ไดบรรลุอภิญญา 6 โดยพระพุทธเจ้าได้มีการแสดงธรรมโอวาทปาติโมกข์ ให้กับพระสงฆ์ที่มาประชุมได้สดับรับฟัง ทั้งเพื่อเป็นการสืบสานเรื่องราวในพุทธกาลเกี่ยวกับวันมาฆบูชา ส่งเสริมกิจกรรมทางพุทธศาสนา ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องทางพุทธศาสนา และโบราณสถานของจังหวัดปราจีนบุรี ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ดังนั้นจึงได้มีการจัดงานเทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนขึ้น ซึ่งภายในงานนั้นมีกิจกรรมที่น่าสนใจหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น การเดินธุดงค์ของพระภิกษุสงฆ์ และฆราวาส จำนวน 250 คน/รูป ในระยะทาง 94 กิโลเมตร กิจกรรมนำเที่ยวเมืองโบราณศรีมโหสถ กิจกรรมการแสดงและจำหน่ายสินค้าพื้นเมือง กิจกรรมนมัสการรอยพระพุทธบาทคู่และต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ กิจกรรมทางวิชาการของนักเรียน นักศึกษา ประกอบด้วย การแสดงนิทรรศการเนื่องในวันมาฆบูชา และการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของวันมาฆบูชาการประกวดวาดภาพ และการแข่งขันตอบปัญหาธรรมะ ฯลฯ งานนี้ถือว่าเป็นการส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปหันมาใส่ใจการทำความดี และร่วมสืบสานวัฒนธรรมความเป็นไทยให้คงอยู่ตลอดไป

เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี เป็นการสืบสานเรื่องราวในพระพุทธกาล เกี่ยวกับวันมาฆบูชา อีกทั้งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนได้รับการประกาศเป็นรายการเบื้องต้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจังหวัดปราจีนบุรี ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ การจัดงานเทศกาลนี้นั้น นับว่าเป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วนในจังหวัดปราจีนบุรีเลยก็ว่าได้ ประกอบด้วย จังหวัดปราจีนบุรี คณะสงฆ์จังหวัดปราจีนบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดปราจีนบุรีทุกแห่ง ตลอดจนพี่น้องประชาชนด้วยเช่นกัน เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี ของเราได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่ออนุรักษ์และสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดปราจีนบุรีอีกด้วย และยังมีทั้งกิจกรรมภายในหลายอย่างด้วยกัน อย่างเช่น การเดินธุดงค์ของพระภิกษุสงฆ์ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา และฆราวาส จากอำเภอนาดี จากอำเภอบ้านสร้าง จากวัดป่ามะไฟ อำเภอเมือง อุปมาดั่งพระภิกษุมาร่วมชุมนุม เป็นต้น เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี เนื่องในวันมาฆบูชา เพื่อฟังธรรมของพระพุทธเจ้าโดยมิได้นัดหมาย นอกจากนี้ยังมีการประกอบกระบวนประทีปต่างๆ ของแต่ละอำเภอและแต่ละหน่วยงาน บอกเลยว่าเป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจเป็นอย่างยิ่ง เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี ที่สำคัญ สำหรับการจัดงานเทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรีนั้น ในแต่ละครั้งจะมีการจัดที่ไม่เท่ากัน แต่จะอยู่ในช่วงที่เกี่ยวกับวันมาฆบูชา เพราะองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของงานนั้นก็คือ การเวียนเทียนรอบรอยพระพุทธบาทคู่ ส่วนเวลาในการเวียนเทียนนั้นจะพิจารณาตามความเหมาะสมของคณะกรรมการจัดงาน ซึ่งเทศกาลนี้ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี วันเพ็ญเดือน3 นับว่าเป็นอีกเทศกาลที่น่าสนใจเลยทีเดียว องค์ประกอบของงานมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรีประกอบไปด้วย

  • การปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชน
  • พระเดินธุดงค์จากอารามอื่นผ่านอำเภอต่างๆ ในจังหวัด มายังวัดสระมรกตโดยมีการส่งธรรมจักรสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา
  • การออกร้านตลาดย้อนยุค
  • การจัดงานแสดงแสงสีเสียง
  • การจำหน่ายผลิตภัณฑ์โอทอป สินค้าต่างๆ
  • นิทรรศการทางพระพุทธศาสนา
  • กิจกรรม การรับประทานอาหารเย็น
  • เวียนเทียนรวบรวมพระพุทธบาทและทิศสนาโอวาทปาติโมกข์
  • ขบวนวนรถเที่ยวชมเมืองโบราณ ในเขตอำเภอศรีมโหสถ เป็นต้น

เป็นเทศกาลที่จัดขึ้นเนื่องในวันมาฆบูชาของทุกปี วันมาฆบูชา ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา ที่ให้พระพุทธศาสนาเอกชนได้หยุดรำลึกถึง เพื่อมุ่งกระทำแต่ความดี ละเว้นซึ่งความชั่วทั้งหลาย โดยผู้ว่าราชการจังหวัดทุกท่านที่มาดำรงตำแหน่งได้ให้ความสำคัญกับ เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี เป็นอย่างยิ่ง เพราะมีการเตรียมงานอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ปี ซึ่งจะมีภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามาร่วมบริหารจัดการ เทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีนบุรี ของชาวพุทธ มีการจัดหลายวันด้วยกัน ทุกคนที่เป็นเจ้าของพื้นที่ต้องร่วมด้วยช่วยกันอย่างเต็มที่ ซึ่งแต่ละภาคส่วนนั้นมีหน้ารับผิดชอบที่แตกต่างกันไป ดังนั้นชุมชนจึงเป็นผู้ที่บทบาทที่สำคัญมากในการที่จะทำให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย เพราะถือกันว่างานเทศกาลนี้นั้นจะเป็นการจุดประกายให้คนรุ่นหลัง ได้มีการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมดังกล่าวด้วยความหวงแหน และภาคภูมิใจในเทศกาลนี้ รวมไปถึงการร่วมใจกันรักษาไว้สืบไป สำหรับใครที่รอคอยเทศกาลนี้บอกเลยไม่ผิดหวังแน่นอน 

Categories
ข้อมูล ประเพณี

นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ ที่จันทบุรี กิจกรรมประจำภาคที่โด่งดังทั่วประเทศ

นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ ที่จันทบุรี ประเพณีท้องถิ่นประจำทุกปี

การเดินทางไป นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ ที่จันทบุรี ถือเป็นสิ่งที่บรรพบุรุษได้สืบทอดกันมาอย่างยาวนานหลาย 100 ปี นับว่าเป็นสิ่งศักสิทธิ์อย่างหนึ่งของคนไทยเลยก็ว่าได้ จากเดิมที่เป็นที่นิยมสำหรับผู้คนในท้องถิ่น แต่ในปัจจุบันได้แพร่หลายเนื่องจากได้รับความเลื่อมใสทั้งคนทั่วประเทศรวมไปถึงชาวต่างชาติ นับว่า นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ  หรือพระบาทพลวง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่อันโด่งดังอย่างหนึ่งของจังหวัดจันทบุรีด้วย

นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ ที่จันทบุรี รับสิริมงคลพร้อมการพักผ่อนกับธรรมชาติ

ซึ่งการ นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ถือว่าเป็นสิ่งที่นิยมทำกันในเดือน 3 จะเปิดให้สักการะถึง 60 วัน โดยจะมีการทำพิธีที่เรียกว่า “เปิดป่า” ก่อนถึงจะขึ้นไปนมัสการได้ จากเดิมในอดีตที่บุคคลจำเป็นจะต้องร่วมเดินทางขึ้นไปแล้วใช้ระยะเวลานานหลายวัน เนื่องจากภายในวันเดียวไม่สามารถเดินถึงยอดเขาคิชฌกูฏได้  แต่ในปัจจุบันนั้นการเดินทางมีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ทำให้นักท่องเที่ยวที่ได้เดินทางไปนั้นไม่เสียเวลามากเกินไป ขับรถหนึ่งวันก็ถึง การเดินทางอาจต้องใช้เท้า มีระยะเวลาประมาณ 5 ชั่วโมง แต่หากนักท่องเที่ยวไม่อยากเดินจะมีรถให้บริการเป็นช่วง 2 ช่วง แล้วเดินทางต่อด้วยเท้าอีกประมาณ  1 ชั่วโมง แต่การเดินทางด้วยเท้าจะมีโอกาสได้สัมผัสบรรยากาศ ร่มรื่น ความงดงามของป่าและระหว่างทางที่ได้ร่วมขึ้นไป นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ  หรือพระบาทพลวง และจะมีทั้งเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์มากมายตลอดทาง ที่จะทำให้ทุกท่านได้รับความเพลิดเพลินกับการธรรมชาติอันร่มรื่นและที่สำคัญหากท่านนั้นเหนื่อยจากการเดินขึ้นเขาระหว่างทางก็จะมีชาวบ้านมาค้าขายน้ำและเครื่องดื่มเพื่อให้ท่านได้พักผ่อนอีกด้วย โดยสิ่งที่นักเดินทางสามารถพบเจอได้นั้นมีมากมายหลากหลายอย่าง เช่น 

  • ถ้ำน้ำ
  • ถ้ำวิมาน
  • ถ้ำฤๅษี

ทุกท่านที่มากราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีความเชื่อตามคนในท้องถิ่น ซึ่งสิ่งที่เราได้สร้างไว้ให้นักท่องเที่ยวสักการะนั่นคือสิ่งที่มีความศักดิ์สิทธิ์ทั้งสิ้น โดยทุกท่านจะได้รับทั้งบุญบารมีและขอพรอะไรก็จะสมความปรารถนาทุกประการเมื่อเดินทางมาสักการะ และตามความเชื่อของคนท้องถิ่นหากบุคคลใดที่มากับ นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ถึง 7 ครั้งก็จะเท่ากับการบวชหนึ่งพรรษา แล้วได้ขึ้นสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เลยทีเดียว

นอกจากนี้จังหวัดจันทบุรียังมีประเพณีต่างๆมากมายให้คนรุ่นหลังได้ร่วมกันสืบทอดและต่อยอดให้ลูกหลานได้อนุรักษ์ไว้ เนื่องจากเป็นสิ่งดีงาม เช่น ประเพณีการชักพระบาทของชาวหมู่บ้านตะปอน, งานตากสินรำลึกของจังหวัดจันทบุรี, ประเพณีการแข่งเรือวัดจันทนาราม, เทศกาลของดีเมืองจันท์วันผลไม้ รวมไปถึงประเพณีศักดิ์สิทธิ์อย่าง นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ  หรือพระบาทพลวง ที่ชาวบ้านศรัทธาและเปิดโอกาสให้ทุกคนได้แสวงบุญ สักครั้งในชีวิตต้องไป นมัสการรอยพระบาทเขาคิชฌกูฏ ที่จันทบุรี 

Categories
Event กิจกรรม

งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ที่เกาะช้าง นิทรรศการของกองทัพเรือ

งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ที่เกาะช้าง สักครั้งในชีวิตต้องไปเข้าร่วม

หลายท่านคงทราบกันดีในอดีตตอนช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยของเราได้มีการสู้รบกับทหารของฝรั่งเศสทางเรือ ยุทธภูมิการรบจะที่บริเวณทางใต้ของเกาะช้าง จังหวัดตราด ซึ่งผลการรบครั้งนั้นเราเป็นฝ่ายผ่ายแพ้ทำให้เสียเรือไป 3 ลำ เรือหลวงธนบุรี เรือหลวงชลบุรีและเรือหลวงสงขลา และประเทศไทยก็เสียทหารกล้าไป 36 ชีวิต ซึ่งถือว่าเป็นความเสียหายที่ร้ายแรงของกองทัพเรือในขณะนั้นเลยก็ว่าได้ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ที่เกาะช้าง จึงสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นอนุสรณ์สำคัญ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยได้รำลึกถึงความเจ็บปวดและเพื่อเชิดชูทหารกล้าทั้งหลายที่ได้สละชีวิตไปนั่นเอง  งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ประจำเดือนมกราคม ที่ทุกท่านควรจะเปิดประสบการณ์ไปพบเจอบรรยากาศสักครั้ง ในงานมีนิทรรศการดีๆ และยังมีของกินขายอีกด้วย นอกจากจะได้ความรู้ยังได้รับความเพลิดเพลินอีกด้วย

งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ที่เกาะช้าง มีจุดประสงค์ที่ได้จัดทำกิจกรรมดีๆ มากมาย

  • เพื่อให้ประชาชนมีส่วนรู้และสำนึกถึงทหารกล้าทั้งฝั่งไทยและฝรั่งเศส อาจจะส่งผลให้ทุกท่านได้รับความทราบซึ้งและรู้จักหวงแหนเอกราชของประเทศมากยิ่งขึ้น
  • เพื่อเชิดชูความดีงามของทหารทุกชีวิตที่ได้สละเพื่อบ้านเมือง
  • เพื่อให้อนุสรณ์ งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย จังหวัดตราด กลายเป็นแลนมาร์คสำคัญเพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ ได้รับความรู้
  • เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจให้กลับมามีความรุ่งเรือง เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาเยี่ยมเยือน จะทำให้การค้าขายรวมไปถึงธุรกิจอื่นๆ ได้รับการเยียวยาขึ้นนั่นเอง งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย อนุสรณ์สำคัญ ที่ช่วยเสริมสร้างอะไรหลายๆอย่าง

งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย อนุสรณ์สำคัญ ตั้งอยู่บริเวณชายทะเลแหลมงอบ และยังเป็นที่ตั้งอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ หันพระพักตร์ไปยังบริเวณยุทธนาวีเกาะช้าง อนุสรณ์รอบๆ บริเวณและอาคารพิพิธภัณฑ์ตกแต่งลักษณะคล้ายเรือรบ ข้างด้านในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงข้อมูลประวัติศาสตร์ของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมไปถึงประวัติการสู้รบของกองทัพเรือไทยกับกองกำลังเรือรบของฝรั่งเศส โดยในช่วงวันที่ 17 มกราคมของทุกปี จังหวัดตราดจะจัด งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ที่เกาะช้าง เพื่อระลึกถึงการทำยุทธนาวีของกองทัพเรือไทยในอดียที่ได้เสียสละเลือดเนื้อ ซึ่งกิจกรรมเด่นๆภายในงาน ประกอบด้วย พิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และพิธีลอยพวงมาลาบริเวณเกาะลิ่มโดยเรือรบของกองทัพเรือ ซึ่งประชาชนนักท่องเที่ยวที่ต้องการจะรับชมบรรยากาศ สามารถลงเรือไปร่วมพิธีได้  

ซึ่งกิจกรรม งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย ที่เกาะช้าง เป็นประเพณีอย่างนึงในจังหวัดตราดที่ประชาชนควรจะอนุรักษ์ไว้เพื่อให้คนรุ่นหลังได้สำนึกและเพื่อให้ทราบถึงความกล้าหาญของบรรพบุรุษทหารเรือของเรา ที่มีขวัญและกำลังใจ ความรักประเทศ เลือกหน้าที่ด้วยความกล้า จนเรือหลวงของไทยทั้ง 3 ลำ ต้องจมลงสู่พื้นดินแห่งท้องทะเลตราด พร้อมกับนายทหารและทหารประจำเรือที่พร้อมสละชีวิต งานวันวีรกรรมทหารเรือไทย อนุสรณ์สำคัญ ที่ไม่ควรเลือนหาย

Categories
กิจกรรม ประเพณี

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร ประเพณีของชาวฉะเชิงเทรา งานบุญใหญ่ท้องถิ่น

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร ประเพณีของชาวฉะเชิงเทรา ที่ศักดิ์สิทธิ์และน่านับถือ

เทศกาลนี้จะเป็นการจัดฉลองสมโภช เพราะเชื่อกันว่าเป็นวันคล้ายวันที่อาราธนาหลวงพ่อโสธรขึ้นจากแม่น้ำ แล้วอัญเชิญท่านมาประดิษฐานที่วัดโสธรวรวิหาร งานนมัสการหลวงพ่อโสธร พระพุทธรูปคู่เมือง   ได้จัดสืบต่อกันมานานกว่าร้อยปี เป็นที่รู้จักของคนในจังหวัดรวมไปถึงคนนอกพื้นที่ เนื่องจากเป็นเทศกาลที่มีความศักดิ์สิทธิ์และมีความน่าเลื่อมใส โดยหลวงพ่อโสธรนั้นถือว่าเป็นหลวงพ่อที่มีความศักดิ์สิทธิ์และมีความขลังมากมาย ให้ทุกท่านได้สักการะและมีความเลื่อมใส ซึ่งหากท่านกำลังมองหาทางออกที่จะช่วยทั้งความสบายใจและช่วยทำบุญงาน งานนมัสการหลวงพ่อโสธร ประเพณีของชาวฉะเชิงเทรา คือกิจกรรมที่น่สนใจเลยทีเดียว

งานนมัสการหลวงพ่อโสธร ประเพณีของชาวฉะเชิงเทรา ประเพณีสำคัญของคนในจังหวัด

อย่างที่เราบอกไปข้างต้นว่างานนมัสการหลวงพ่อโสธรนั้นเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานับ 130 ปี ซึ่งหากผู้คนที่หลงใหลและชื่นชอบในการทำบุญหรือเลื่อมใสในพระพุทธคุณนั้น งานนมัสการหลวงพ่อโสธร เดือน ๑๒ นี้ถือว่าเป็นงานที่ท่านควรจะไปให้ได้สักครั้งในชีวิต มีความเชื่อกันว่าหลวงพ่อโสธรคือคนที่ปัดเป่าโรคร้ายให้แก่คนในอดีต ที่มีการบนบานและสารกล่าว ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คนในสมัยนั้นนิยมนับถือ และยังเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันอีกด้วย โดยทุกท่านนั้นสามารถเดินทางไปร่วมกิจกรรม งานนมัสการหลวงพ่อโสธร พระพุทธรูปคู่เมือง  ได้ที่ บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทราได้ทุกปี โดยจะมีการจัดขึ้น ณ  12 ค่ำ ถึง แรม 1 ค่ำ  เดือน 12  งานนมัสการหลวงพ่อโสธร สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์  มีการจัดงานถึงเก้าวันเก้าคืน ได้อัญเชิญเอาพระพุทธรูปจำลองมาให้ทุกท่านได้กราบไหว้และสักการะ โดยจากเดิมที่หลวงพ่อโสธรนั้นค้นพบได้ทางน้ำ แต่องค์ที่เรานำมาให้ประชาชนได้สักการะนั้นคือองค์ที่จำลองขึ้นทางบกและทางน้ำนั่นเอง บวงสรวง ปู่ท้าวมหาพรหม ณ ศาลพระพรหม เชิงสะพานเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา, บวงสรวงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หน้าศาลากลางจังหวัด, บวงสรวงเสาหลักเมือง ณ ศาลหลักเมืองฉะเชิงเทรา และจุดสำคัญคือบวงสรวงหลวงพ่อโสธร ณ อุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร  มีมหรสพสมโภชประจำ คือ

  • ลิเก 
  • งิ้ว 
  • ละคร  ฯลฯ 

และ งานนมัสการหลวงพ่อโสธร ประเพณีของชาวฉะเชิงเทรา หน่วยงานที่จัดขึ้นก็จะมีการขายสินค้า OTOP ของคนในชุมชนเพื่อกระจายรายได้มากมายสู่คนในจังหวัดอีกด้วย 

ประเพณีการจัด งานนมัสการหลวงพ่อโสธร ประเพณีของชาวฉะเชิงเทรา ถือเป็นสิ่งที่น่าอนุรักษ์ไว้ เนื่องจากเป็นความเชื่อตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย ที่คนรุ่นใหม่ไม่ควรให้หายไปตามกาลเวลาและยังเป็นสิ่งดีงามเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองที่น่านับถืออีกด้วย งานนมัสการหลวงพ่อโสธร เดือน ๑๒ จะเป็นทั้งการฟื้นฟูศาสนาประจำประเทศ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในการร่วมทำบุญและกราบไหว้สิ่งที่คนท้องถิ่นศรัทธา