Categories
ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว เทศกาล

ผีตาโขน ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดเลย

ผีตาโขน งานเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดเลย

ผีตาโขน การละเล่นที่ถือเป็นประเพณี

เทศกาล ผีตาโขน ถือเป็นอีกหนึ่งงานที่ยิ่งใหญ่ของอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ถือเป็นส่วนหนึ่งในงานบุญประเพณีใหญ่ หรือที่เรียกว่า “งานบุญหลวง” เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “บุญผะเหวด” เป็นประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์และมีชื่อเสียงของจังหวัดเลย จัดขึ้นในเดือนกรกฎาคมของทุกปี แต่ละปีจะมีประชาชนและนักท่องเที่ยวแห่ร่วมงานเป็นจำนวนมาก ในงานจะมีขบวนแห่ที่สร้างสีสันความสนุกสนานให้กับผู้ที่มาร่วมงาน ลวดลายของ ผีตาโขน สวยงามและเป็นเอกลักษณ์ แสดงการละเล่นเต้นรำในขบวนแห่ยาวไปตามท้องถนน สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างมาก 

ผีตาโขน ประเพณีที่มีมาอย่างยาวนาน

ผีตาโขน สวยงามและเป็นเอกลักษณ์

ประเพณีแห่ ผีตาโขน เป็นส่วนหนึ่งในงานบุญประเพณีใหญ่ของอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ผีตาโขน การละเล่นที่ถือเป็นประเพณี จัดขึ้นในเดือนกรกฎาคมของทุกปี เป็นประเพณีที่เกี่ยวโยงกับงานบุญพระเวสหรือเทสน์มหาชาติประจำปีกับพระธาตุศรีสองรัก ปูชนียสถานสำคัญของชาวด่านซ้าย กล่าวกันว่า การแห่ ผีตาโขน เป็นประเพณีที่มีมาอย่างยาวนาน เกิดขึ้นเมื่อครั้งที่พระเวสสันดรและนางมัทรีเดินทางออกจากป่ากลับสู่เมือง บรรดาผีป่าหลายตน รวมถึงสัตว์นานาชนิด อาลัยรัก จึงพากันแห่แหนแฝงตัวตนมากับชาวบ้าน เพื่อมาส่งทั้งสองพระองค์กลับเมือง จึงมีชื่อเรียกว่า “ผีตามคน” หรือ “ผีตาขน” จนกลายมาเป็น “ผีตาโขน” อย่างในปัจจุบัน

ผีตาโขน ในขบวนแห่จะแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

ผีตาโขน เล็ก เป็นการละเล่นของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นเด็กเล็ก เด็กวัยรุ่น ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย มีสิทธิ์เข้าร่วมสนุกได้ทุกคน แต่ผู้หญิงจะไม่ค่อยเข้าร่วม เพราะเป็นการเล่นที่ค่อนข้างผาดโผนและใช้พละกำลังค่อนข้างมาก

ผีตาโขน ใหญ่ จะทำเป็นหุ่นรูปผี ทำจากไม้ไผ่สาน ขนาดใหญ่กว่าคนธรรมดาประมาณ 2 เท่า ประดับตกแต่งรูปร่างหน้าตาด้วยเศษวัสดุ ที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น เวลาแห่ คนเล่นจะต้องเข้าไปอยู่ข้างในตัวหุ่น ซึ่งแต่ละปีจะทำ ผีตาโขน ใหญ่เพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ ชาย 1 ตัว หญิง 1 ตัว สังเกตุจากเครื่องเพศที่ปรากฏชัดเจนบนตัวหุ่น ผู้มีหน้าที่ทำจะมีเฉพาะกลุ่มเท่านั้น เพราะการทำต้องได้รับอนุญาตจากผีหรือเจ้าก่อน หากไม่มีสิทธิ์ก็ไม่สามารถทำได้ หากได้รับอนุญาตแล้วต้องทำทุกปีหรือทำติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปี ผู้เข้าร่วมในพิธีนี้จะแต่งกลายคล้ายผีและปีศาจ สวมหน้ากากขนาดใหญ่ ซึ่ง ผีตาโขน ทำจากกาบมะพร้าวแกะสลัก สวมศีรษะด้วยกระติ๊บข้าวเหนียว ในขบวนแห่จะร้องรำทำเพลงอย่างสนุกสนาน 

ผีตาโขน เป็นงานบุญใหญ่

เนื่องจากประเพณี ผีตาโขน เป็นงานบุญใหญ่ ที่เรียกกันว่างานบุญหลวง จัดขึ้นที่วัดโฑนชัย อ.ด่านซ้าย จ.เลย โดยงานบุญหลวง มีการละเล่น ผีตาโขน การเทศน์มหาชาติ และมีการทำบุญพระธาตุศรีสองรัก รวมถึงงานบุญต่างๆเข้ามาผสมผสานกัน จึงมีการจัดงานขึ้น 3 วัน โดยวันแรกจะเริ่มพิธีตั้งแต่เช้าตรู่ คณะแสนหรือขบวนข้าทาสบริวารของเจ้าพ่อกวนจะนำอุปกรณ์ มีด ดาบ หอก ฉัตร พานดอกไม้ ธูปเทียน ขันห้าขันแปด (พานดอกไม้ 5 คู่ หรือ 8 คู่) ถือเดินนำนำขบวนไปที่ริมแม่น้ำหมัน เพื่อนิมนต์อุปคุตต์ พระผู้มีฤทธานุภาพและมักเนรมิตกายอยู่ในมหาสมุทร เพื่อป้องกันภัยอันตราย และเพื่อให้เกิดความสุขสวัสดี เมื่อถึงริมแม่น้ำหมันแล้วผู้อันเชิญต้องกล่าวคาถาและให้อีกคนลงไปในน้ำ งมก้อนหินใต้น้ำขึ้นมาแล้วถามว่า “ใช่พระอุปคุตต์หรือไม่” ผู้ที่ยืนอยู่บนฝั่งก็จะตอบว่า “ไม่ใช่” งมก้อนหินไปจนถึงก้อนที่สาม ให้ผู้ที่ยืนอยู่บนฝั่งตอบว่า “ใช่ นั่นแหละพระอุปคุตต์ที่แท้จริง” เมื่อได้พระอุปคุตต์มาแล้ว ก็นำพาน แล้วนำขบวนกลับที่หอพระอุปคุตต์ ทำการทักขินาวัฏ 3 รอบ มีการยิงปืนและจุดประทัด ซึ่งเวลานั้นบรรดาผีตาโขนที่นอนหลับหรืออยู่ตามที่ต่างๆก็จะมาร่วมขบวนด้วยความยินดีปรีดา เต้นรำ เข้ากับจังหวะเสียงหมากกระแร่ง ซึ่งเป็นกระดิ่งผูกคอวัว ต่อด้วยวันที่สอง เป็นพิธีแห่พระเวส ในขบวนประกอบด้วยพระพุทธรูป 1 องค์ พระสงฆ์ 4 รูป นั่งบนแคร่หาม ตามด้วย เจ้าพ่อกวน นั่งอยู่บนกระบอกบั้งไฟ ท้ายขบวนเป็นเจ้าแม่นางเทียมกับบริวาร เหล่าผีตาโขนจะเดินตามเสด็จไปรอบเมือง ก่อนตะวันตกดิน สำหรับคนที่เล่นเป็นผีตาโขนใหญ่ ต้องถอดเครื่องแต่งกายออกให้หมดและนำไปทิ้งในแม่น้ำหมัน ห้ามนำเข้าบ้านโดยเด็ดขาด ถือเป็นการทิ้งความทุกข์ยากและสิ่งเลวร้ายไป ส่วนในวันที่สามจะเป็นการรวมเอางานบุญประเพณีประจำเดือนต่างๆของปีมารวมกันจัดในงานบุญหลวง โดยประชาชนจะมานั่งฟังเทศน์มหาชาติ 13 กัณฑ์ ที่วัดโพนชัย เพื่อเป็นการสร้างกุศลและเปน็นมงคลแก่ชีวิต

ผีตาโขน เป็นประเพณีที่มีมาอย่างยาวนาน

ผีตาโขน ประเพณีอันงดงามที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์

ผีตาโขน เป็นประเพณีที่มีมาอย่างยาวนาน มีประวัติความเป็นมาอันงดงาม ที่เล่าขานกันรุ่นสู่รุ่น ถือเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อจิตใจเลยเป็นอย่างมาก และยังเป็นประเพณีที่มีชื่อเสียง สามารถเรียกนักท่องเที่ยวให้กับจังหวัดได้ หากใครได้มีโอกาสไดไปท่องเที่ยวในจังหวัดเลยต้องห้ามพลาดที่จะไปชมประเพณี ผีตาโขน เพราะนอกจากจะเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์ประเพณีอันงดงามของไทยอีกด้วย

 

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

https://ufaball.bet เรามีบริการทั้ง แทงบอลออนไลน์ หรือ คาสิโนออนไลน์ ไว้บริการเต็มรูปแบบครบวงใจในที่นี้ที่เดียว สมัครเปิดยูสเซอร์ ขั้นต่ำ 100บาท เพื่อทำการยืนยันตน สามารถทำได้ผ่านไลน์แอดที่หน้าเว็บไซต์ได้ตลอด 24ชั่วโมง

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีอันงดงามของจันทบุรี

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าแก่ของชุมชนโบราณ

ประเพณีชักพระบาท เป็นประเพณีของชาวจันทบุรี ในตำบลตะปอน ซึ่งถือเป็นชุมชนเก่าแก่ของอำเภอขลึง ในอดีตผู้คนแถบนี้ประกอบอาชีพทำนาและประมง ต่อมาก็หันมาปลูกพืชผักผลไม้ แต่ยังคงรักษาสภาพความเป็นอยู่แบบเก่า โดยสังเกตได้จากตัวอาคารบ้านเรือนที่ยังคงรักษารูปแบบโบราณไว้เป็นอย่างดี เมื่อเป็นชุมชนเก่าแก่จึงไม่แปลกที่ตำบลตะปอนจะมีประเพณี วัฒธรรม และการละเล่นแบบโบราณที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าแก่ โดยในช่วงเทศกาลสงกรานต์ชาวบ้านในตำบลตะปอนจะมีการแห่พระบาท มีงานบุญที่ทำร่วมกันที่วัด เมื่อเสร็จงานบุญ ทุกคนก็จะร่วมกันเล่นชักเย่อเกวียนพระบาท 

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าที่มาพร้อมกับความเชื่อ

ประเพณีชักพระบาท ความเชื่อความศรัทธาของชาวบ้าน ตามความเชื่อของคนในสมัยก่อนเชื่อว่า “รอยพระบาท” สามารถขจัดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ที่ระบาดในหมู่บ้านได้ ซึ่งในสมัยนั้นการแพทย์ยังไม่เจริญเท่าที่ควร ปีใดมีโรคระบาดก็จะทำให้มีผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น ชาวบ้านก็จะนำพระบาทจำลองออกแห่ ในการแห่นี้จะม้วนผ้าให้กลมแล้วเอาผ้าห่อข้างนอกอีกหลายชั้นหลังจากนั้นก็นำไปใส่ไว้บนเกวียน พร้อมทั้งประดับเกวียนที่บรรทุกพระบาทจำลองให้สวยงาม และจะมีคนตีกลองนั่งอยู่บนเกวียนนั้นด้วย การแห่พระบาทจะแห่ไปตามที่ต่างๆ ที่สามารถนำเกวียนไปได้ ถ้าบ้านใดมีผู้คนเจ็บป่วยมากก็จะอัญเชิญพระบาทจำลองนี้ขึ้นไปบนบ้าน มีพระสงฆ์ประพรมน้ำมนต์ไปทั่วๆ โรคภัยไข้เจ็บนั้นก็จะหายหรือเบาบางลง ต่อมาเมื่อการแพทย์เริ่มเจริญขึ้น โรคระบาดน้อยลง การแห่พระบาทจำลองก็เปลี่ยนแปลงไป คือเปลี่ยนจากแห่มาเป็นชักกะเย่อแทน จึงถือว่า ประเพณีชักพระบาท มาจากการแห่พระบาทในสมัยก่อน โดย ประเพณีชักพระบาท ถือเอาวันสำคัญหลังสงกรานต์ ประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกปี ในการชักกะเย่อนี้จะให้ชายและหญิงอยู่คนละข้าง โดยผูกเชือกติดอยู่กับเกวียน ขณะที่ทั้งสองฝ่ายออกแรงดึงเชือก คนตีกลองที่อยู่บนเกวียนจะตีกลองรัว จนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งชนะ ฝ่ายชนะถือว่าเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตเพราะสามารถลากพระบาทได้ 

ฝ่ายแพ้ก็จะขอแก้ลำใหม่ เพื่อต้องการชนะบ้าง ถือเป็นเรื่องสนุกสนาน หลังจากวันสงกรานต์ชาวบ้านจะนำรอยพระบาทไปบำเพ็ญตามแยกทางเข้าหมู่บ้านต่างๆ แห่งละ 1-2 วัน นับตั้งแต่หมูบ้านตะปอนน้อยไปจนถึงหมู่บ้านหนองเสม็ด เพื่อเป็นการฉลองรอยพระบาท หลังสวดพุทธมนต์ ประชาชนจะนำเกวียนที่มีรอยพระบาทนั้นมาชักเย่อ เช้าวันรุ่งขึ้นจะมีการทำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ เป็นอันเสร็จพิธี ระยะเวลาที่ชาวบ้านนำรอยพระบาทไปทำพิธีตามสถานที่ต่างๆในตำบลตะปอน ใช้เวลาร่วม 1 เดือน ถือได้ว่ารอยพระบาทจำลองนี้เป็นมิ่งขวัญและสิริมงคลของชาวตบ้านตำบลตะปอน

การเล่นชักเย่อเกวียนพระบาทเป็นการเล่นที่มีอัตลักษณ์เฉพาะ ดังนี้

  • ลักษณะการเล่นที่แข่งชักเย่อตัวเกวียน ซึ่งเป็นยานพาหนะสำคัญที่ใช้ในสมัยโบราณ ไม่พบเห็นในประเทศอื่น ถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของประเทศไทย
  • การบรรทุกผ้าพระบาท ที่มีรอยพระพุทธบาทจำลองของพระพุทธเจ้าไว้บนเกวียน ขณะทำการเล่นเป็นกีฬาที่พัฒนามาจากพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ แฝงด้วยความเชื่อและค่านิยม ที่ส่งเสริมการทำความดีตามหลักพุทธศาสนา มีความหมายและความสำคัญยิ่งค่อวิถีชีวิตของชาวบ้าน
  • การเล่นที่มีการตีกลองเร่งเร้าให้จังหวะประกอบการเล่น สร้างความสนุกสนาน คึกคัก เพิ่มความมีชีวิตชีวาให้ทั้งผู้เล่น และผู้ชม ถือเป็นลักษณะการเล่นที่โดดเด่นเฉพาะท้องถิ่น

ประเพณีชักพระบาท ได้รับอิทธิพลมาจากประเพณีชักพระของทางภาคใต้ เพราะสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดจันทบุรีมีอาณาเขตติดต่อกับทะเล สามารถเดินทางได้ถึงจังหวัดทางภาคใต้ได้ไม่ยากนัก แต่ลักษณะการประกอบพิธีกรรมที่แตกต่างกันน่าจะมาจากสภาพลักษณะภูมิประเทศ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ และวิถีชีวิต สังเกตได้จากทางใต้นั้นมีลักษณะภูมิประเทศที่ติดกับทะเล ประชาชนประกอบอาชีพทำการประมง จึงใช้เรือเพื่อเป็นพาหนะในการเดินทาง การประกอบอาชีพ ตลอดจนการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ส่วนจังหวัดจันทบุรีนั้น พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่ได้ติดกับทะเล ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม ตั้งแต่อดีตมีการนำเกวียนมาบรรทุกพืชผลทางการเกษตร และเป็นพาหนะในการเดินทาง จึงได้นำเกวียนมาใช้ในการประกอบพิธีกรรมด้วย

ประเพณีชักพระบาท ประเพณีที่เป็นสิริมงคลต่อชาวบ้าน

การแห่พระพุทธบาทและการเล่นชักเย่อเกวียนพระบาท เป็นความเชื่อความศรัทธาของชาวตำบลตะปอนและตำบลใกล้เคียงมาเป็นเวลานับร้อยๆ ปี  ประเพณีชักพระบาท ประเพณีเก่าแก่ ที่เป็นสิริมงคลแก่ชาวบ้าน หากใครได้จูงหรือชักเย่อเกวียนพระบาทได้ปีละ 3 ครั้ง ก็จะประสบแต่ความสุข ความเจริญ ความโชคดี ไม่มีโรคภัย นอกจากนี้การแห่ผ้าพระบาทตามหมู่บ้านต่างๆ จะไปสิ้นสุดวันสุดท้ายคือ วันที่ 30 เมษายน ที่บ้านป่าคั่น นับว่าเป็นตำบลที่ทำบุญสงกรานต์ยาวนานที่สุดในประเทศ ดังนั้น ประเพณีชักพระบาท ถือเป็นประเพณีที่ชาวตำบลตะปอนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ เป็นประเพณีที่หนึ่งปีมีครั้งเดียว ถือเป็นสิริมงคลต่อชีวิตของชาวบ้านในตำบลเป็นอย่างมาก

 

 

 

 

สนับสนุนโดย :

hilospec.com แค่สมัครสมาชิกกับเว็บไฮโลของเรา แบบไม่ต้องฝาก โปรโมชั่นเติมเงิน โปรโมชั่นถอนเงิน ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ หรือจะเป็นโบนัสเงินรางวัลจากการเล่น ยิ่งเล่นเยอะยิ่งได้เงินเยอะ แถมเรายังมีโปรโมชั่นสำหรับคนที่เชิญเพื่อนยิ่งเชิญเพื่อนเยอะยิ่งได้เงินจากการเล่นเดิมพันเยอะ

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี

ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีอ้อนวอนขอฝน

ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีเก่าแก่ของไทยที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจำ

พิธีแห่นางแมวไม่ใช่พิธีที่ทำกันเป็นประจำทุกปีเหมือนสงกรานต์ หรือสารท อันเป็นพิธีกรรมที่มีวาระกำหนดแน่นอน เกิดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตปกติของคนทั่วไป ประเพณีแห่นางแมว เป็นพิธีที่ทำกันเฉพาะเมื่อยามเกิดความไม่ปกติขึ้นในชีวิตชาวนา คือฝนแล้ง ประเพณีแห่นางแมว จึงสะท้อนพฤติกรรมที่ไม่ปกติของชุมชนชาวนาไทย หลายต่อหลายอย่าง อันไม่อาจถือได้ว่า เป็นแบบแผนความสัมพันธ์ตามปกติของสังคม

ประเพณีแห่นางแมว พิธีเรียกฝนของชาวเกษตรกร

ในสังคมเกษตรกรรมซึ่งนํ้าฝนมีความสำคัญอย่างมากต่อการเริ่มเพาะปลูกพืชพันธุ์ ถ้าปีใดฝนมาช้า พื้นดินแห้งแล้ง ไม่สามารถเพาะปลูกได้ ก็จะเกิดความเดือนร้อนไปทั่ว เกิดความอดอยากยากจน ไม่มีข้าวพืชไร่ไว้เลี้ยงชีพไว้ขาย สำหรับเอาเงินมาใช้จ่ายในเรื่องอื่น ๆ ในสังคมเกษตรกรรมจึงมีพิธีอันเนื่องมาจากความเชื่อที่จะทำลายอำนาจที่ทำให้ฝนแล้ง บันดาลให้ฝนตกลงในเทศกาลดังกล่าว เพื่อที่จะเริ่มชีวิตเกษตรกรรม ในสังคมไทยมีพิธีกรรมเกี่ยวกับความเจริญงอกงามที่ประพฤติเป็นประเพณีสืบต่อกันมา คือ ประเพณีแห่นางแมว การที่ทำพิธีแห่นางแมว เพราะมีความเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่กลัวนํ้าคนโบราณมีความเชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอำนาจลึกลับ และมีความศักดิ์สิทธิ์ มีความสามารถในการเรียกฝนมาได้ และมีความเชื่ออีกว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกเมื่อไหร่ แมวจะร้องทันที และนั่นก็ถือว่าเป็นเคล็ดของคนภาคอีสานที่บอกว่าถ้าแมวร้อง แสดงว่าฝนกำลังจะตก จึงเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเชื่อว่าแมวทำให้ฝนไม่ตก จึงต้องจับแมวมาตระเวนแห่และให้ผู้คนตักนํ้ารดราดแมวจนแมวเปียกหนาวสั่น เพื่อทำลายความเป็นตัวแล้งให้หมดไป การแห่นางแมวของชาวบ้านจะทำในปีที่ฝนมาช้า

สิ่งสำคัญที่ใช้ในประเพณีการแห่นางแมว

  • กะทอหรือเข่งที่มีฝาปิดข้างบน
  • แมว
  • เทียน 5 คู่
  • ดอกไม้ 5 คู่ 
  • ไม้สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 2 ท่อน

พิธีจะเริ่มต้นตั้งแต่บ่ายโมงจนมืดค่ำซึ่ง พิธีการแห่นางแมวนั้นจะต้องใช้คน 15-20คน และทำการคัดเลือกแมวที่เป็นเพศเมียที่มีลักษณะสวยงาม สายพันธุ์สีสวาด เพราะแมวพันธุ์นี้มีสีขนคล้ายสีของเมฆฝน หรือจะใช้แมวดำก็ได้ ต้องใช้แมวจำนวน 1-3 ตัวโดยชาวบ้านจะเอาแมวส่ชะลอมเข่งหรือตะกร้า เอาฝาปิดให้แน่น เอาไม้คานสอดเข้าแล้วหาบไป มีคนแห่แวดล้อมนางแมวคนหนึ่งถือพานนำหน้าร้องเชิญให้ทุกคนมาร่วมพิธีขอฝน นอกนั้นก็มีเครื่องดนตรีประกอบเพลง เช่น กลอง กรับ ฉิ่ง เมื่อเคลื่อนขบวนออกเดิน ต่างก็ร้องบทแห่นางแมว ซึ่งมีข้อความคล้ายกันหรือเพี้ยนแตกต่างกันบ้าง แห่ไปตามละแวกบ้านจนทั่วแล้วก็กลับ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใคร เจ้าบ้านจะเอาภาชนะตักนํ้าสาดลงไปในชะลอมเข่งหรือตะกร้าที่ขังแมว เจ้าของบ้านจะให้รางวัลแก่พวกแห่นางแมว เป็นเหล้า ข้าว ไข่กับขนมหรือเป็นเงินใส่พาน ทำเช่นนี้เรื่อยไป บางคนนึกสนุกก็มาร่วมร้องรำตามขบวนไป จนกว่าจะเย็นคํ่าและเลิกขบวนไปในที่สุด เนื่องจาก ประเพณีแห่นางแมว ทำในช่วงอากาศร้อนสุด ฝนจึงตกลงมาในวันนั้น ทำให้พิธีดูขลังมากขึ้น พิธีแห่นางแมวขอฝน ดูจะเป็นความเชื่อที่ไร้เหตุผล เพราะสภาพความแห้งแล้งนั้นเป็นเพราะสภาพของธรรมชาติที่มีฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว เปลี่ยนหมุนเวียนไปทุก 4 เดือน แต่ ประเพณีแห่นางแมว ทำขึ้นเพื่อความสนุก ในสังคมท่ามกลางธรรมชาติที่แห้งแล้ง การที่ออกมาร่วมขบวนร้องเพลง เล่นดนตรีพื้นบ้านก็ทำให้เกิดความบันเทิงพอที่จะลืมสภาพเดือดร้อน ถ้าฝนไม่ตก นาไร่จะแห้งแล้ง ผู้คนจะอดอยากอาจจะยากจนถึงกับต้องขายลูกหลานสัตว์เลี้ยงไป แต่ถ้าฝนตกสามารถทำนาได้ ชีวิตก็จะมีความสุขสดชื่นไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์พืช มีการฉลองยกใหญ่ 

ปัจจุบัน ประเพณีแห่นางแมวขอฝน มีปรากฏจริงในบางพื้นที่ เพราะปัจจุบันมีการกักเก็บนํ้าไว้ใช้ในการทำนาโดยไม่ต้องพึ่งธรรมชาติ มีการสร้างฝนเทียมขึ้นมาเพื่อไม่ให้เกิดความแห้งแล้ง ในสังคมอุตสาหกรรมและสังคมเกษตรกรรม แม้ ประเพณีแห่นางแมว อยู่คู่คนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ในปัจจุบันพิธีแห่นางแมวขอฝนอาจจะเลือนหายไปจากชีวิตจริง เหลือขบวนแห่นางแมวขอฝนไว้ในขบวนที่เป็นการสาธิตในขบวนแห่ทางด้านวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น สังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิมเลือนหายไป พิธีแห่นางแมวขอฝนก็จะเลือนหายตามไปด้วย

ประเพณีแห่นางแมว พิธีที่สร้างความสมัครสมานสามัคคีแก่คนในชุมชน

ประเพณีแห่นางแมว ไม่เพียงแค่ทำเพื่อขอฝนอย่างเดียว แต่มีจุดประสงค์แฝงคือเพื่อสร้างความสมัครสมานสามัคคีจากคนในชุมชน จากการที่ร่วมกันทำพิธีแม้ว่าพิธีแห่นางแมวไม่ได้รวมทุกคนในหมู่บ้านไว้ในขบวน แต่ชาวบ้านทั้งหมดก็ร่วมอยู่ในพิธี เพราะขบวนแห่นางแมวกดงัลก่าวจะพานางแมวไปทั่วทุกหลังคเรือนของหมู่บ้าน ให้ทุกคนได้เอาน้ำสาดแมวในชะลอม ทำให้ ประเพณีแห่นางแมว สร้างความสมัครสมานสามัคคี ให้แก่คนในชุมชนได้เป็นอย่างดี ไม่เพียงแต่เป็นพิธีเรียกฝนที่หลายคนพูดกันว่าเป็นพิธีที่งมงายแต่อย่างใด

 

 

 

 

สนับสนุนโดย :

 

hilospec.com แค่สมัครสมาชิกกับเว็บไฮโลของเรา แบบไม่ต้องฝาก โปรโมชั่นเติมเงิน โปรโมชั่นถอนเงิน ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ หรือจะเป็นโบนัสเงินรางวัลจากการเล่น ยิ่งเล่นเยอะยิ่งได้เงินเยอะ แถมเรายังมีโปรโมชั่นสำหรับคนที่เชิญเพื่อนยิ่งเชิญเพื่อนเยอะยิ่งได้เงินจากการเล่นเดิมพันเยอะ

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณสำคัญของจังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา งานบุญประเพณีที่สำคัญของจังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา-จังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี เป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดมาอย่างยาวนาน ที่จัดสืบทอดติดต่อกันมากว่า 118 ปี โดยทุกภาคส่วนของจังหวัดจะสนับสนุนให้มีการทำเทียนพรรษาตลอดทั้งเดือนก่อนจะถึงวันเข้าพรรษา ประเพณีแห่เทียนพรรษา แสดงถึงความสามัคคี โดยการทำเทียนพรรษาจะใช้ขี้ผึ้ง ซึ่งในสมัยโบราณนั้นจะนำเทียนเล่มเล็กๆ โดยมีการมัดรวมกันให้เป็นเทียนเล่มใหญ่ และจัดขบวนนำไปถวายวัด การรวมเทียนพรรษาเป็นกลุ่มนี้แสดงถึงความสามัคคีในหมู่คณะนั่นเอง 

ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณีที่มีวิวัฒนาการอย่างไม่หยุดนิ่ง

ประเพณีแห่งเทียนพรรษา นั้น เนื่องจากสมัยก่อนพระภิกษุสงฆ์ไม่มีไฟฟ้าใช้ ชาวบ้านจึงหล่อเทียนต้นใหญ่ขึ้น เพื่อถวายพระภิกษุสงฆ์จุดให้แสงสว่างในการปฏิบัติกิจวัตรต่างๆ เป็นพุทธบูชาตลอดเวลา 3 เดือน การนำเทียนไปถวายชาวบ้านมักจัดขบวนแห่กันอย่างเอิกเกริกสนุกสนานและปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกลายเป็นประเพณี การทำเทียนพรรษามีวิวัฒนาการเรื่อยมาไม่หยุดนิ่ง ในปี พ.ศ. 2511 ผู้คนได้พบเห็น ต้นเทียนพรรษาขนาดใหญ่และสูงขึ้น มีการแกะสลักลวดลายในส่วนลำต้นอย่างวิจิตรพิสดาร ใน ส่วนฐานก็มีการสร้างหุ่นแสดงเรื่องราวทางศาสนา และความเป็นไปในสังคมขณะนั้น กลายเป็น ประติมากรรมเทียนพรรษาที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งช่างผู้ริเริ่มในการทำต้นเทียนยุคหลังคือ นายอุตส่าห์ และ นายสมัย จันทรวิจิตร สองพี่น้อง นับเป็นงานสร้างสรรค์ทางศิลปะอันเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน อย่างแท้จริง 

ประเพณีแห่เทียนพรรษา-จังหวัดอุบลราชธานี

ต่อมาการจัด ประเพณีแห่เทียนพรรษา ในปัจจุบันเริ่มมีการพัฒนาจากในอดีต ประเพณีแห่เทียนพรรษา จัดขึ้นในช่วงวันอาสาฬหบูชา โดยมีการแกะสลักเข้ามาร่วม ซึ่งจะนำขี้ผึ้งมาหล่อเป็นเทียนเล่มใหญ่ จากนั้นช่างฝีมือจะมาแกะสลักเป็นลวดลายสวยงามต่างๆ โดยเฉพาะลวดลายของอีสานดั้งเดิม มีการนำต้นเทียนมาประกอบเป็นขบวนต้นเทียนพรรษา มีขนาด 10-15 เมตร และสูงประมาณ 6 เมตร ใช้รถเทรลเลอร์ในการขนย้าย การตกแต่งต้นเทียน ส่วนใหญ่จะมีภาพประกอบที่ทำด้วยเทียนเหมือนกัน อาจจะเป็นนารายณ์ทรงครุฑ หรืออื่นๆ แต่ละปีจะไม่เหมือนกัน ด้านข้างจะมีเป็นภาพที่แกะสลักด้วยเทียน ซึ่งจะเป็นเรื่องราวของพุทธประวัติ โดย ประเพณีแห่เทียนพรรษา ถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ของอุบลราชธานี เป็นประเพณีที่มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 เป็นงานประเพณีที่รวมความผูกพันของชุมชนท้องถิ่น โดยเริ่มตั้งแต่การที่ชาวบ้านร่วมบริจาคเทียนเอามาหลอม หล่อเป็นเทียนเล่มใหญ่เล่มเดียวกัน เป็นการแสดงออกถึงความสามัคคีกลมเกลียวในหมู่คณะไปในตัว การสรรหาภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่มีฝีมือทางช่าง มีความรู้ ความชำนาญในเรื่อง การทำลวดลายไทย การแกะสลักลวดลายลงบน ต้นเทียน การทำเทียนให้เป็นลายไทย แล้วนำไปติดบนต้นเทียน การประดับด้วยผ้าฝ้าย ผ้าไหม ดอกไม้สด ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของช่างในท้องถิ่น ส่วนการจัดขวนแห่ก็ล้วนแต่ใช้ของพื้นเมือง เช่น 

  • เครื่องแต่งกายของขบวนฟ้อน จะใช้ผ้าพื้นเมืองเป็นหลัก 
  • การฟ้อนรำจะใช้ท่ารำที่ดัดแปลงมาจาก วิถีชีวิต การทำมาหากินของชาวบ้าน เป็นท่ารำในรูปแบบของศิลปะที่งดงาม 
  • ดนตรีประกอบ เป็น เครื่องดนตรีประจำถิ่น ผสมเข้ากับการขับร้องที่สนุกสนานเร้าใจ

เนื่องจากในงานมีการแสดงต่างๆมากมายทำให้งานประเพณีนี้ยิ่งใหญ่ เป็นงานที่ประชาชนต่างเฝ้ารอคอย ศิลปะการฟ้อนรำที่นิยมนำมาประกอบการแสดงในขบวนแห่ คือ การรำเซิ้งต่างๆ เช่น เซิ้งกระลอ เซิ้งกระติบ เซิ้งสวิง เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ซึ่งดัดแปลงมาจากการประกอบอาชีพในวิถีชีวิต ประจำวันทั้งสิ้น โดยก่อนวันงานแห่เทียนพรรษา จะมีการแสดงเทียนพรรษารอบทุ่งศรีเมือง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่คุ้มวัดต่างๆ จะนำเทียนพรรษาที่เข้าร่วมในงานประเพณี มาจัดแสดงไว้ที่บริเวณโดยรอบของทุ่งศรีเมือง โดยเทียนพรรษาที่จัดทำอย่างเสร็จสมบูรณ์จะถูกตกแต่งประดับประดาด้วยดอกไม้และไฟอย่างสวยงาม ทั้งเทียนพรรษาประเภทแกะสลัก ประเภทติดพิมพ์ และเทียนโบราณ ซึ่งเปิดให้นักท่องเที่ยวมาเดินชม โดยจะจัดขึ้นในช่วงเย็นของวันอาสาฬหบูชา เส้นทางในการแห่เทียนพรรษา จะอยู่ที่บริเวณ ทุ่งศรีเมือง ในตัวเมืองอุบลราชธานี โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัด และอำเภอทุกอำเภอจะส่งขบวนเข้ามาร่วมในงาน แต่ละปีประมาณถึง 65 ขบวน แต่ละขบวนจะมีนางรำมีการฟ้อนรำ แสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน ประกอบขบวน อย่างยิ่งใหญ่อลังการ การแห่เทียนจะเริ่มงานตั้งแต่ในช่วงเช้า ประมาณ 8 โมงเช้า ถึงช่วงบ่ายๆ จนหมดขบวนขนวนแห่ ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเข้าชมได้ที่อัฒจันทร์ที่ทางจังหวัดด้จัดไว้ให้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายอีกด้วย

นับว่า ประเพณีแห่เทียนพรรษา เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เป็นประเพณีสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ และความร่วมมือร่วมใจกันของชาวบ้านทั้งจังหวัด อีกทั้งยังเป็นภาพสะท้อนวิถีชีวิตของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างแน่นแฟ้นอีกด้วย

ประเพณีแห่เทียนพรรษา-จังหวัดอุบลราชธานี

ประเพณีแห่เทียนพรรษา  สืบทอดศิลปะวัฒนธรรม

การจัด ประเพณีแห่เทียนพรรษา ที่ทำให้คนวัยรุ่น หนุ่มสาว ได้มีโอกาสได้ใกล้ชิดและสัมผัส กับศิลปวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด นับตั้งแต่การเข้าเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือ เป็นลูกมือช่างของทางวัด ในการแกะสลักทำลวดลายต้นเทียน ค้นคว้าหาวิธีการทำเพียรพรรษาให้วิจิตรพิศดาร งดงาม ในขบวนแห่จะเป็นการผสมผสานระหว่างคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ เช่น การเล่นดนตรีพื้นบ้าน โปงลาง หรือเป่าแคน จะมีทั้งผู้สูงอายุและคนหนุ่มสาว ส่วนขบวนฟ้อนรำ จะใช้เด็กๆ รุ่นเยาว์ ถึงวัยหนุ่มสาวมากกว่าคนสูงวัย ซึ่งคาดหวังได้ว่า ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น จะสืบทอดต่อไปอีกยาวไกล ให้สมกับที่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา เก่าแก่กว่าร้อยปี

 

 

 

 

ไฮโลไทย เกมคาสิโนออนไลน์ ที่ได้รับความนิยมที่สุดในประเทศไทยตอนนี้ หากคุณกำลังมองหาเว็บเกมเดิมพัน ที่มีเกมมากมายให้คุณได้เล่น เว็บเราตอบโจทย์คุณแน่นอน

Categories
กิจกรรม ข้อมูล ประเพณี เทศกาล

ไม่ควรพลาด 5 งานประเพณีเมืองชล ตามปฏิทิน

ไม่ควรพลาด 5 งานประเพณีเมืองชล ตามปฏิทิน

ประเพณีก่อพระทรายวันไหล งานประเพณีเมืองชล

เมื่อพูดถึงจังหวัดชลบุรี อีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจเช่นเดียวกันคือ งานประเพณีเมืองชล ซึ่งปัจจุบันสามารถยกระดับให้เป็น การท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี อีกรูปแบบหนึ่ง และหลายประเพณีประจำท้องถิ่นของเมืองชล กลายเป็นเทศกาลท่องเที่ยวชลบุรี ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกสารทิศอีกด้วย ซึ่งเรียกว่าทำให้จังหวัดนี้มีแหล่งท่องเที่ยวที่แตกต่างและหลากหลายรูปแบบในตัว นอกจากนั้นแต่ละเทศกาลต้องบอกว่าไม่ควรพลาดจริง ๆ 

เที่ยว งานประเพณีเมืองชล สืบสาน และเรียนรู้วัฒนธรรม

ถ้าพูดถึง การท่องเที่ยวงานประเพณีชลบุรี เชื่อว่าหลายคนยังไม่รู้ว่า ชลบุรีมีประเพณีน่าเที่ยวเช่นกัน ซึ่งแต่ละประเพณีต่างสร้างความน่าสนใจให้กับนักท่องเที่ยวมาโดยตลอดส่งผลให้กลายเป็น เทศกาลท่องเที่ยวชลบุรี ที่ทำให้นักท่องเที่ยวประทับใจอย่างมาก และตั้งเป้ากลับมาเยี่ยมเยียนจังหวัดชลบุรีทุกเทศกาลหรือประเพณีทันที เนื่องจากประเพณีแต่ละอย่างเป็นการสานต่อวัฒนธรรมดั้งเดิมของจังหวัดให้คงอยู่ต่อไประยะยาว

งานประเพณีเมืองชล

ประเพณีงดงามมาพร้อมกับการท่องเที่ยว

ที่นี่มาว่ากันต่อถึงประเพณีต่าง ๆ ของจังหวัดชลบุรี ซึ่งค่อย ๆ พัฒนาจนกลายเป็นมาเป็นงานประเพณีประจำปีเมืองชล พร้อมกับยกระดับให้กลายเป็น การท่องเที่ยวงานประเพณีชลบุรี ที่น่าตื่นตาตื่นใจและสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวต่อเนื่อง โดยงานประเพณีตามปฏิทินที่ต้องมาเที่ยวที่นี่คือ 

  • ประเพณีวิ่งควาย จะจัดขึ้นในเดือนตุลาคมของทุกปี ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมที่หลายคนไม่ควรพลาดเลย
  • ประเพณีก่อพระทรายวันไหล ซึ่งจะมีในทุกเทศกาลสงกรานต์ของทุกปีในอำเภอบางแสน 
  • งานบุญกลางบ้านและเครื่องจักสานพนัสนิคม จะจัดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายนของทุกปี 
  • ประเพณีกองข้าวศรีราชา จะจัดในวันที่ 19-21 เมษายน ของทุกปีของอำเภอศรีราชา
  • พัทยามาราธอน อีกหนึ่งไฮไลท์ที่น่าสนใจของพัทยา ซึ่งถือว่าเป็นเทศกาลที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด 
งานประเพณีเมืองชล

1 ปี มีครั้งกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ทั้งนี้ความน่าสนใจของ งานประเพณีเมืองชล คือ 1 ปี มีครั้ง ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่ประเพณีดังกล่าวจะสามารถยกระดับ การท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี ให้น่าสนจากยิ่งขึ้น จนกลายเป็นอีกหนึ่งการท่องเที่ยวตามปฏิทินที่นักท่องเที่ยวหลายคนรอคอย 

สรุป 

ถ้าพูดถึง งานประเพณีเมืองชล ในปัจจุบันถือว่ามีแนวโน้มไปได้สวย หลังจากหลายประเพณีสามารถพัฒนาให้แต่ละเทศกาลเป็นช่วงเวลาของ การท่องเที่ยวงานประเพณีชลบุรี ให้น่าสนใจมากขึ้น พร้อมทั้งสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวงาน เทศกาลท่องเที่ยวชลบุรี ตามปฏิทินได้ไม่ยาก  ส่งผลให้ปัจจุบันการเดินทางมายังชลบุรีเพื่อท่องเที่ยวความสวยงามของทะเล และแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ แล้ว งานประเพณีต่าง ๆ ที่จัดงานทุกปีเป็น การท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี อีกหนึ่งรูปแบบที่ไม่ควรพลาด และควรได้มาสัมผัสความสนุกด้วยตัวเองให้ได้ 

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

https://hilospec.com เว็บคาสิโนออนไลน์อันดับ1 ที่ได้เปิดให้บริการมาอย่างยาวนาน โดยทางเราเป็นเว็บตรงฝากถอนไม่มีขั้นต่ำที่ยิ่งกว่าเว็บทั่วไป มาพร้อมเกมเดิมพันมากมายแบบไม่อั้นแน่นอน

Categories
ข้อมูล ประเพณี เทศกาล

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของบรรพบุรุษ ส่งตรงสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน

วัฒนธรรมภาคตะวันออก กิจกรรมอันดีงามของคนรุ่นหลัง

วัฒนธรรมภาคตะวันออก

ในแต่ละสถานที่นั้นย่อมประเพณีเป็นของตัวเองที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน หรือเรียกว่าเป็นเอกลักษณ์ที่มีความสำคัญต่อสังคมเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นประเพณีได้การแต่งกาย ภาษา รวมไปถึง วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่คนไทยนั้น จะมีความเชื่อที่สืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย จนมาถึงรุ่นหลาน อาจจะมีปรับเปลี่ยนกันบ้างตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไปแต่ก็ไม่ได้หายไป เนื่องจากประเทศไทยมีความเชื่อตามศาสนาที่มีอิทธิพลสูงมากที่สุด ดังนั้นจึงจะเห็นว่าคนไทยมีให้ความสำคัญกับการบำรุงรักษาประเพณีตั้งแต่โบราณมา วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทั้ง 7 จังหวัด ซึ่งทุกท่านคงจะทราบกันดีว่าภาคตะวันออก ก็เป็นอีกหนึ่งภาค ที่ประกอบไปด้วยจังหวัดท่องเที่ยวมากมาย และ วัฒนธรรมภาคตะวันออก  ยังมีความเชื่อของคนในท้องที่ ที่มีการนับถือกันมาอย่างยาวนานเป็นระเบียบแผนที่ปฏิบัติในแต่ละท้องถิ่น

วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทำความรู้จักเกี่ยวกับ ประเพณีเก่าแก่

ในจังหวัดทางภาคตะวันออกนั้นมี ทั้งหมด 7 จังหวัดด้วยกัน ซึ่งตามประเพณีและความเชื่อเหล่านั้นส่วนใหญ่ จะสะท้อนให้นักท่องเที่ยวเห็นถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามต่างๆ มากมาย โดยประเพณีส่วนใหญ่จะจัดทำขึ้นช่วงเทศกาลสงกรานต์ วันไหล 

  • จังหวัดจันทบุรีนั้นทุกท่านคงจะทราบกันดีว่ามี ประเพณีงานชักพระบาท ของชาวบ้านหมู่บ้านตะปอน ซึ่งจะถูกจัดขึ้นหลังวันสงกรานต์ ประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกปี เป็นการเล่นชักเย่อระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย โดยจะมีเชือกผูกติดกับเวียน และมีคนคอยตีกลองอยู่บนเกรียน ถือว่าเป็นตัวแทนของพาหนะที่จะนำพระบาทไปทำพิธีอันศักดิ์สิทธิ์ คนตีกลองจะตีไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะ และฝ่ายชนะถือว่าฝ่ายที่มีสิริมงคล เพราะสามารถลากพระบาทขึ้นไปได้ทำกิจกรรมทางศาสนาได้
  • จังหวัดฉะเชิงเทราก็ถือว่ามีประเพณีที่ทุกท่านคงจะรู้จักกันเป็นดี คืองานขึ้นเขาเผาข้าวหลาม ซึ่งที่มาของประเพณีนี้คือสืบทอดมาจากชาวลาว ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมาอยู่ในประเทศไทย ตั้งแต่สมัย ต้นรัตนโกสินทร์ โดยในขณะนั้นทุกคนจะเรียกว่าชาวลาวเวียง เป็นการทำบุญถวายเข้าหลามให้กับพระสงฆ์ที่อยู่ในอำเภอพนมสารคาม ซึ่งงานประเพณีนี้จะถูกจัดขึ้นในทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม ขึ้น 15 ค่ำ เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับประเพณีเก็บเกี่ยวข้าวด้วย จะทำเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชาวบ้าน ที่มีอาชีพทำนาทำไร่ ถือเป็น วัฒนธรรมภาคตะวันออก อันเก่าแก่ ที่สืบทอดกันมาชั่วอายุคน จนถึงในปัจจุบัน
  • วัฒนธรรมภาคตะวันออก ทั้ง 7 จังหวัด  ซึ่งประเพณีจังหวัดชลบุรีอีกหนึ่งจังหวัด ที่ถือว่าเป็นสถานที่อันโด่งดังของภาคตะวันออก ประเพณีที่นิยมทำกันเป็นอย่างมาก และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ก็คืองานกองข้าว เป็นงานที่จัดทำขึ้นมาช่วงเดือนเมษาหลังสงกรานต์ของทุกปี ประมาณ 19 – 21 เมษายน วัฒนธรรมภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน เป็นการบวงสรวงสังเวยผี เพื่อให้ดูแลรักษา และไม่ให้มาทำลายตนเอง คนในครอบครัว รวมถึงสิ่งของในอนาคต และมีการออกบูธมาจำหน่ายขนมพื้นเมือง หรืออาหารพื้นเมือง ภายในงานนั้นนักท่องเที่ยวจะแต่งตัวเป็นชุดไทยมาจับจ่ายซื้อของพื้นบ้าน
  • ประเพณีของจังหวัดตาก รู้กันเป็นอย่างดีว่าจังหวัดตาก อยู่ริมทะเล และในอดีตมีการจัดทำสงครามทางทหารเรือ ซึ่งงานนี้ก็คือเป็นงานที่จัดทำขึ้นเพื่อสรรเสริญทหารไทยในยุทธนาวิถี ที่การจัดทำขึ้นในเกาะช้าง เพื่อรำลึกถึงเกียรติคุณของทหารไทย ที่เสียชีวิตจากการสู้รบระหว่างกองทัพเรือฝรั่งเศส และที่สำคัญเพื่อมีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของทหารเรืออีกด้วย ประเพณีวันวีรกรรมทหารเรือไทยในยุทธนาวิถีที่เกาะช้าง ก็จะมีการออกบูธ มีนิทรรศการของทางราชการมาจัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้ของนักท่องเที่ยวอีกด้วย
  • ประเพณีจังหวัดระยองอีกหนึ่งอย่างที่มีอายุการสืบทอดกันมายาวนานนับ 100 ปี ก็คืองานทอดผ้าป่ากลางน้ำ โดยชาวบ้านนั้นจะนำพุ่มผ้าป่าไปป่าไว้กลางแม่น้ำประแส และยังตกแต่งให้สวยงาม จากนั้นจะนิยมพระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม และความเชื่อของชาวพระพุทธศาสนา ชาวบ้านก็จะพายเรือแจวเรือเข้ามาร่วมพิธีการกลางน้ำ หลังจากเสร็จพิธีการแข่งขัน ชาวบ้านก็จะจัดเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการแข่งเรือพาย การชกมวยทะเล หรือจะเป็นการแข่งพายกะโล่ เป็นต้น     

วัฒนธรรมภาคตะวันออก  ถือว่าเป็นประเพณีของภาคที่มีความหลากหลาย และมีความสนใจไม่น้อยไปกว่าจังหวัดอื่นของประเทศไทย เพราะเป็นสถานที่ที่เต็มไปด้วยเสน่ห์ อารยธรรม มนต์ขลังมากมาย ส่วนใหญ่จะสัมผัสถึงวัฒนธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เนื่องจากคนในท้องที่ มีความเชื่อและมีความศรัทธากันเป็นจำนวนมาก เป็นประเพณีเป็นที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษยาวนาน แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิต และวัฒนธรรมที่เป็นจุดเด่นของแต่ละจังหวัด วัฒนธรรมภาคตะวันออก อันเก่าแก่ ซึ่งแน่นอนว่านอกจากทุกท่านจะได้ความรู้ในการมาร่วมทำประเพณี และสืบทอดแล้วนั้น ยังได้รับความสนุกสนานจากการร่วมทำกิจกรรมในประเพณีด้วย เนื่องจากส่วนใหญ่นั้นก็ยังมีการละเล่นให้ผู้คนที่สนใจสามารถร่วมทำกิจกรรมได้ และตามความเชื่อของประเพณีนั้นอาจจะยึดมั่นกันเลยว่าปีใดที่ไม่ทำกิจกรรมนี้อาจจะส่งผลเสียต่อชีวิต เรียกว่าเป็นการทำเพื่อสิริมงคลของชาวบ้านละแวกนั้นก็เป็นได้ กิจกรรมประเพณีของจังหวัดทางภาคตะวันออกของไทยไม่ได้โด่งดังและจากกันแค่ชาวไทยเท่านั้น เพราะชาวต่างชาติก็นิยมมาร่วมเข้าทำกิจกรรม เพื่อรับประสบการณ์ใหม่ๆ และมาพบปะสังสรรค์หาความสนุกกันนั่นเอง

 

 

 

 

สนับสนุนโดย : 

GCLUB จีคลับ เว็บไซต์พนันออนไลน์ บริการคาสิโนออนไลน์ 24 ชั่วโมง ด้วยระบบที่เป็นมาตรฐานระดับสากลออกแบบมาให้ใช้งานง่าย และรวดเร็ว ไว้คอยให้บริการท่าน

Categories
กิจกรรม ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว เทศกาล

ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก กิจกรรมเพื่อสืบสานวัฒนธรรมของท้องถิ่น

ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก ความแตกต่างของทั้ง 4 ภาค

ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก

ในประเทศไทยนั้นมีหลายภูมิภาคที่ถูกแบ่งออกขึ้นมาอย่างชัดเจน แต่ละภาคก็จะมีประเพณีจารีตวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไปหนึ่งในนั้น ก็คือ ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก ทุกท่านรู้จักว่าเป็นภาคที่ติดกับทะเล ดังนั้นจึงมีวัฒนธรรมความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ภูตผีวิญญาณ รวมไปถึงการสักการะของพระพุทธเจ้าอีกด้วย ซึ่ง ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก มรดกของสังคมให้คนรุ่นหลัง จัดทำขึ้นมานั้นจะเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาทั้งสิ้น เพื่อกลับไหว้และบูชา อันเป็นสิริมงคลให้แก่ชาวบ้าน และเป็นกิจกรรมที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานนับ 100 ปีก็มีเช่นกัน

ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก กิจกรรมที่มีเอกลักษณ์สำคัญ

ภาคตะวันออกนั้น เป็นชาวไทยที่มีมากมายหลากหลายเชื้อชาติ เนื่องจากเป็นการอพยพถิ่นฐานย้ายมาอยู่ตั้งแต่รัชกาลต้นๆ ของชาวไทย ซึ่งแน่นอนว่าจะมีความแตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็มีการช่วยกันรักษาสืบทอด และทำนุบำรุงรักษาวัฒนธรรมให้อยู่ไปตลอด เปรียบเสมือนการรักษาชาติเลยก็ว่าได้ ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก นั้นถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะไม่ได้เป็นแค่เครื่องหมายที่แสดงให้เห็นว่าท้องถิ่น มีความพัฒนามากขึ้นเท่านั้นยังแสดงให้เห็นถึงความแสดงถึงจิตใจของบุคคลในจังหวัดอีกด้วย นอกจากนี้ ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน ยังแสดงให้เห็นถึงวิธีการดำเนินชีวิตของสังคมแต่ละยุคแต่ละสมัย และแต่ละสถานที่  โดยภาคตะวันออกของไทย ก็ถือว่าเป็นภูมิภาคที่มีภูเขาสลับกับทะเล และธรรมชาติมากมาย ดังนั้นส่วนใหญ่จะมีความเชื่อไปในทางเดียวกัน โดยวัฒนธรรมของภาคตะวันออก จะคล้ายครึ่งกับภาคกลางของไทย แต่อาจจะมีเปลี่ยนแปลงกันไปบ้าง เพราะส่วนใหญ่นั้นศาสนาที่ชาวบ้านนับถือก็คือศาสนาพุทธ

ตัวอย่างประเพณีวัฒนธรรมของภาคตะวันออก

  • ประเพณีวิ่งควาย ที่จัดทำขึ้นที่จังหวัดชลบุรี เป็นการทำความขวัญควาย และให้ควายได้พักจากการเหน็ดเหนื่อยในการทำงานที่ท้องนา มีความเชื่อว่าหากปีใดไม่มีประเพณีวิ่งควาย ควายที่ใช้ไถนาส่วนใหญ่ก็จะเป็นโรคระบาดกันมาก ทำให้เกิดผลเสียต่อชาวนา และเพื่อแสดงถึงคุณค่าต่อควายที่ทำงานอย่างหนัก นอกจากนี้ ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก เพื่อให้ชาวบ้านมาพบปะสังสรรค์ พูดคุยกัน ประเพณีวิ่งควายก็ถือว่าเป็นประเพณีชื่อดังของจังหวัดชลบุรี ที่โด่งดังมากทั้งในประเทศ รวมไปถึงต่างประเทศเลยทีเดียว จะถูกจัดทำขึ้นวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 ก่อนช่วงออกพรรษาเพียงแค่หนึ่งวัน ถือเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน
  • ประเภทหนึ่งที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวรวมไปถึงชาวบ้านในท้องถิ่นเป็นอย่างมาก ก็คือประเพณีเทศกาลงานก่อพระเจดีย์ทรายวันไหล จัดทำขึ้นที่หาดบางแสนชลบุรี เป็นการจัดงานในช่วงวันที่ 16 – 17 เมษายนของทุกๆ ปี ซึ่งจะตรงกับเทศกาลสงกรานต์ ชาวบางแสนจะนิยมเล่นน้ำสงกรานต์กันยาวนานถึง 5 วันเลยทีเดียว ดังนั้นจึงมีวันไหลในวันที่ 16 – 17 ซึ่งนอกจากจะมีการเล่นน้ำสงกรานต์กันแล้ว ก็ยังมีการประกวดจัดเจดีย์ทรายให้มีความสวยงามอีกด้วย
  • ในจังหวัดชลบุรีนั้น มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่โด่งดังคือหลวงพ่อโสธร ซึ่งบุคคลในท้องถิ่นนั้นนับถือและกราบไหว้กันมาอย่างยาวนาน ดังนั้นจะมีประเพณีเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธรของจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งจัดทำขึ้นถึง 3 ครั้งด้วยกันใน 1 ปี นับว่าเป็น ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก ความเชื่อตามศาสนา ที่มีกิจกรรมมากมาย และยังเป็นการร่วมขอพรหลวงพ่อโสธรเพื่อเป็นสิริมงคลต่อชีวิต นอกจากนี้ยังมีการจัดขบวนแห่ที่ยิ่งใหญ่สวยงามอีกด้วย
  • งานทำบุญกลางบ้าน ถือว่าเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาโดยคนเฒ่าคนแก่ และเป็นส่วนหนึ่งของการสืบทอดเชื้อสายที่มาจากชาวลาวพวนที่อพยพมาจากประเทศลาวในสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งชาวบ้านนั้นจะนำอาหารมาร่วมกันทำบุญตักบาตร ไหว้พระ เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศล ให้แก่เจ้าที่เจ้าทาง เจ้ากรรมนายเวร และดวงวิญญาณของญาติพี่น้องที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ที่สำคัญเพื่อขับไล่สิ่งชั่วร้ายด้วย และ ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน นับถือขอพรให้ฝนตกตามฤดูกาล พืชพันธุ์  การทำไร่ทำสวนนั้นสมบูรณ์ และยังมีการจัดทำรูปปั้นดินเหนียว เป็นรูปคนให้เท่ากับจำนวนสมาชิกภายในครอบครัว เพื่อทำการสะเดาะเคราะห์ด้วยเช่นกัน ส่วนใหญ่งานที่ตรงกับวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ ในสัปดาห์แรกของเดือนพฤษภา หรือเดือน 6 ของไทย 

ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก นั้นถือว่าเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาอย่างยาวนาน และมีแต่สิ่งที่ดีงามบ่งบอกถึงความเป็นมาของบุคคลแต่ละชุมชนและสถานที่ การปลูกฝังให้ลูกหลานในตระกูล หรือในท้องที่ตระหนักถึงคุณค่า และความสำคัญของ ประเพณีของชาวบ้านภาคตะวันออก ความเชื่อของชาวบ้าน นั้นก็ถือว่าเป็นส่วนสำคัญในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาอันเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่นเอาไว้ ได้มีการจัดทำเอาประเพณีเกิดขึ้นมาทุกปี และนอกจากจะเป็นการอนุรักษ์แล้ว ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของแต่ละท้องถิ่นอีกด้วย เรียกว่าเป็นการฟื้นฟูและเชิดชูให้เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมต่างๆ และแน่นอนว่าวัฒนธรรมบางอย่างนั้น ก็อาจจะเกิดประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของชาวบ้านอีกด้วย

 

 

 

 

GCLUB จีคลับ เว็บไซต์พนันออนไลน์ บริการคาสิโนออนไลน์ 24 ชั่วโมง ด้วยระบบที่เป็นมาตรฐานระดับสากลออกแบบมาให้ใช้งานง่าย และรวดเร็ว ไว้คอยให้บริการท่าน

Categories
ข้อมูล ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว เทศกาล

ประเพณีของสระแก้ว รวมประเพณีของจังหวัดสระแก้ว ทางภาคตะวันออก

ประเพณีของสระแก้ว ที่เที่ยวน่าไป ประเพณีน่าตื่นตาตื่นใจ แถมอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพอีกด้วย 

ประเพณีของสระแก้ว

ชายแดนเบื้องบูรพา ป่างาม น้ำตกสวย มากด้วยอารยธรรมโบราณ ย่านการค้าไทย-เขมร ซึ่งเป็นคำขวัญประจำจังหวัดสระแก้ว ประเพณีของสระแก้ว แน่นอนว่าเราต้องพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับจังหวัดสระแก้วของเรากัน จังหวัดที่อยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย จังหวัดสระแก้วของเรานั้นถือว่าเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด ประเพณีของสระแก้ว ประเพณีหลากหลาย สภาพทั่วไปเป็นพื้นที่ราบถึงพื้นที่ราบสูง มีภูเขาสลับซับซ้อน ทิศเหนือติดกับทิวเขาบรรทัด ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำบางปะกงอีกด้วย 

ประเพณีของสระแก้ว เดินทางสะดวก พื้นที่กว้างใหญ่ มาแล้วต้องติดใจ ใครๆ ก็ต้องชอบ

จังหวัดสระแก้วถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ใกล้กับกรุงเทพมหานคร โดยอยู่ไม่ห่างจากกรุงเทพฯ เพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น สามารถมาเที่ยวได้ในวันหยุดสุดสัปดาห์ ประเพณีของสระแก้ว ใครๆ ก็ชอบ  ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางกับรถโดยสารมินิบัส มินิแวน หรือจะขับรถยนต์ส่วนตัวก็ได้เช่นกัน จังหวัดของเราไม่ได้มีดีแค่แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามเท่านั้น ประเพณีของสระแก้ว เพราะประเพณีต่างๆ ของเราก็น่าสนใจไม่แพ้กัน และสำหรับวันนี้เรามีประเพณีที่น่าตื่นตาตื่น บอกเลยว่าเป็นประเพณีที่เป็นความภาคภูมิใจของคนในจังหวัดระยองเลยก็ว่าได้ 

งานวันแคนตาลูป
  • เริ่มต้นกันที่ผลไม้ขึ้นชื่อจังหวัดสระแก้วของเรากันก่อนเลย นั่นก็คือ งานวันแคนตาลูป ซึ่งมีการจัดที่บริเวณหน้าที่ว่าการอำเภออรัญประเทศ ช่วงราวๆ เดือนเมษายน เป็นประจำทุกปี เพราะเป็นช่วงที่ผลผลิตของแคนตาลูปนั่นเริ่มมีการกระจายออกสู่ตลาด ประเพณีของสระแก้ว แคนตาลูปอร่อย ในงานมีขบวนแห่รถแคนตาลูป การประกวดแคนตาลูป และผลิตผลทางการเกษตร นิทรรศการของหน่วยงานต่างๆ การประกวดธิดาแคนตาลูป เพื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตของเกษตรกรนั่นก็คือ แคนตาลูป ของจังหวัดสระแก้ว ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมอาชีพเกษตรอีกด้วย อีกทั้งการลดปัญหาสินค้าทางการเกษตรล้นตลาด และมีราคาตกต่ำ รวมไปถึงการขยายช่องทางการตลาดของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมท้องถิ่น ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
ประเพณีดอกแก้วบานเบื้องบูรพา
  • ประเพณีดอกแก้วบานเบื้องบูรพา ดอกแก้วถือว่าเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดสระแก้วของเรา เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ สีเขียวเข้ม เปลือกต้นสีขาวเทา ช่อดอกสั้น ออกตามง่ามใบ ดอกสีขาว แถมยังมีที่กลิ่นหอมอีกด้วย เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อบูชาหลวงพ่อทอง และงานกาชาด ประเพณีของสระแก้ว พื้นที่กว้างขวาง ซึ่งจะจัดประมาณช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปีกิจกรรมภายในงานนั้นจะประกอบไปด้วย  ขบวนแห่สืบสานประเพณีไทยของดีเมืองสระแก้ว ชมการประกวดร้องเพลง นิทรรศการแสดงผลงานของส่วนราชการ ชมการแสดง มหรสพ ขบวนแห่ศิลปวัฒนธรรม การจัดนิทรรศการ และการออกร้านแสดงสินค้าบริเวณที่สามแยกสระแก้ว
งานเทศกาลดูผีเสื้อปางสีดา ณ อุทยานแห่งชาติปางสีดา
  • งานเทศกาลดูผีเสื้อปางสีดา ณ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดสระแก้ว รวมทั้งเพื่อเป็นการกระจายรายได้ให้กับชุมชนและท้องถิ่น ตลอดจนเป็นการสร้างภาพลักษณ์ “เมืองผีเสื้อของพื้นป่าภาคตะวันออก ซึ่งภายในงานนั่นมีกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ขึ้นชื่อเป็นอย่างดี นั่นก็คือ การดูผีเสื้อปีกสวยแห่งผืนป่าตะวันออกนานาชนิด หลากสีสัน บินอวดโฉมไปมาทั่วอุทยานฯ เป็นภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจให้แก่เหล่านักท่องเที่ยวทุกท่านเป็นอย่างมาก มีกิจกรรมที่น่าสนใจมากมาย อย่างเช่น การประกวดหุ่นผีเสื้อ และขบวนแห่หุ่นผีเสื้อ กิจกรรมทำโป่งเทียมให้ผีเสื้อ เรียนรู้ร่วมกันกับกิจกรรมดูผีเสื้อ ชมแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดสระแก้ว การเดินป่าท่องไพรศึกษาธรรมชาติ สัมผัสความมหัศจรรย์ธรรมชาติที่สวยงามของผืนป่าตะวันออก และชมนิทรรศการภาพถ่ายผีเสื้อ พร้อมแนะนำการถ่ายภาพผีเสื้อ และเทคนิคการดูผีเสื้อจากเจ้าหน้าที่อุทยานฯ มาเที่ยวเทศกาลนี้บอกเลยนักท่องเที่ยวทุกท่านจะได้เก็บภาพความสวยงาม ความประทับใจของราชินีแห่งแมลงปีกสวยสีสันงามตา ที่มีมากกว่า 400 ชนิดเลยทีเดียว ประเพณีของสระแก้ว ใครๆ ก็ชอบ อีกทั้งภายในเขตพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติปางสีดานั้น ยังมีทั้งแคมปิ้ง นอนเต็นท์ เล่นน้ำตกปางสีดา มีการแข่งขันจักรยานเสือภูเขา พิชิตจุดชมวิวปางสีดาระยะทางกว่า 29 กิโลเมตร เพื่อบันทึกภาพแห่งความทรงจำ ณ จุดชมวิวและการประกวดภาพถ่ายผีเสื้ออีกด้วย ใครที่มาเที่ยวจังหวัดสระแก้วต้องอย่างลืมแวะเทศกาลนี้ 
งานสืบสานวัฒนธรรมเบื้องบูรพาและงานกาชาดจังหวัดสระแก้ว
  • งานสืบสานวัฒนธรรมเบื้องบูรพาและงานกาชาดจังหวัดสระแก้ว เป็นงานสืบสานงานประเพณีพื้นถิ่น ดินแดนเบื้องบูรพาแหล่งอารยธรรมและประวัติศาสตร์ขอมโบราณ และสานสัมพันธ์ประตูสู่อินโดจีน ประเพณีของสระแก้ว แคนตาลูปอร่อย เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว พร้อมกับเผยแพร่ประวัติศาสตร์เมือง อนุรักษ์วัฒนธรรมขนบประเพณีอันดีงาม และส่งเสริมการประกอบอาชีพกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นอีกด้วย อีกทั้งรวมกันนำรายได้จากการจัดงานนั้นสมทบเข้ากองทุนเพื่อการกุศลของเหล่ากาชาด จังหวัดสระแก้ว

 จังหวัดสระแก้วของเรานั้นถือว่าเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย  แถมยังมีพื้นที่มากที่สุดอีกด้วย ประเพณีของสระแก้ว ประเพณีหลากหลาย จังหวัดของเราไม่ได้มีดีแค่แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามเท่านั้น ประเพณีของสระแก้ว เพราะประเพณีต่างๆ ของเราก็น่าสนใจไม่แพ้กัน 

 

 

 

สนับสนุนโดย :

สมัครบาคาร่า ที่เว็บคาสิโน888 เราเป็นเว็บคาสิโนที่สมัครง่ายที่สุด เกมคาสิโน สล็อต บาคาร่าเล่นง่าย ได้เงินจริง และยังสามารถดาวน์โหลดเอาไว้เล่นบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนได้

Categories
กิจกรรม ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว เทศกาล

รวมประเพณีจังหวัดระยอง เป็นจังหวัดที่มีประเพณีหลากหลายรูปแบบที่น่าสนใจ

รวมประเพณีจังหวัดระยอง ระยองเมืองคนรวย ที่เที่ยวเยอะ ผลไม้อร่อย  

รวมประเพณีจังหวัดระยอง

ระยองเป็นจังหวัดขนาดเล็กแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศ  เป็นที่รู้จักในปัจจุบันว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว มีผลไม้ชั้นยอด รวมประเพณีจังหวัดระยอง แต่เดิมจังหวัดระยองเป็นที่รู้จักในฐานะเมืองผลไม้ดีของภาคตะวันออก ไม่ว่าจะเป็นมังคุด ทุเรียน เงาะ รวมทั้งอาหารทะเลสด แปรรูป กะปิ น้ำปลา เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศที่เอื้ออำนวย และสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังได้ชื่อว่าเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สวยงาม และยังมีเกาะสวยงามระดับโลก เช่น เกาะเสม็ด  รวมประเพณีจังหวัดระยอง เมืองผลไม้ดี อีกทั้งจังหวัดระยองของเรานั้น ยังมีประเพณีที่หลากหลายอีกด้วย ประเพณีในจังหวัดระยองของเรานั้นนับว่ามีการสืบทอดสู่ๆ กันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เราขอบอกทุกท่านเลยว่าประเพณีของระยองนั้นมีดีไม่แพ้จังหวัดอื่นอย่างแน่นอน 

รวมประเพณีจังหวัดระยอง เป็นจังหวัดทางภาคตะวันออก ที่ต้องมาให้ได้สักครั้งในชีวิต

จังหวัดระยองของเรานั้นเป็นเมืองแห่งแหล่งท่องเที่ยว แถมผลไม้ยังอร่อยอีกด้วย แต่ขอบอกเลยว่าจังหวัดของเรายังมีดีในเรื่องของประเพณีอีกด้วย รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่จัดทุกปี ในแต่ละปีนั้นจังหวัดของเราก็จะมีการจัดเทศกาลต่างๆ เพื่อสืบทอดและอนุรักษณ์ประเพณีดั้งเดิมของจังหวัดอีกด้วย รวมประเพณีจังหวัดระยอง บอกเลยว่าแต่ละประเพณีมีความโด่ดเด่นที่แตกต่างกันออกไป ใครๆ ก็อยากมาท่องเที่ยวที่จังหวัดของเรา

เทศกาลผลไม้ ระยอง
  • ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองผลไม้อร่อย สำหรับวันนี้เราขอเริ่มต้นจาก เทศกาลผลไม้และของดีเมืองระยอง เป็นงานเทศกาลประจำปีของจังหวัดระยอง ที่มีมานานนับหลายสิบปี ในอดีตเป็นเพียงการนำผลไม้ และผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายร่วมกัน แต่ต่อมาจึงมีการจัดงานให้ยิ่งใหญ่ขึ้น ปัจจุบันได้มีการจัดงานที่ตลาดกลางเพื่อการเกษตรและผลไม้ตะพง รวมประเพณีจังหวัดระยอง เมืองผลไม้ดี ซึ่งเทศกาลนี้นั้นจะจัดในช่วงฤดูผลไม้ เป็นเวลา 1 สัปดาห์เลยทีเดียว ประมาณราวเดือนพฤษภาคม ของทุกปี และสิ่งที่น่าสนใจที่สุดเลยนั่นก็คือวันเปิดงาน ในวันนั้นจะมีขบวนแห่รถประดับผลไม้จากสวนศรีเมืองมายังตลาด มีประกวดธิดาชาวสวนที่สวนศรีเมือง  และหลังจากนั้นก็จะมีการแข่งขันรับประทานผลไม้ ส่วนวันอื่น ๆ นั้นก็มีเฉพาะการออกร้านจำหน่ายผลิตผลทางการเกษตร โดยเฉพาะผลไม้ต่างๆ นานาชนิด 
ประเพณีทำบุญกลางทุ่ง
  • ประเพณีทำบุญกลางทุ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย2อย่างด้วยกัน นั่นก็คือ การทำบุญขอฝน และทำบุญข้าวใหม่หรือทำบุญข้าวหลาม จัดขึ้นช่วงเดือนสาม หลังเก็บเกี่ยวข้าวในนาแล้ว การทำบุญข้าวใหม่นั้นทำเพื่อรับขวัญข้าวใหม่ที่เก็บเกี่ยวเสร็จ ถือเป็นงานมงคลประจำหมู่บ้านและเป็นการสร้างขวัญ กำลังใจให้แก่ชาวนาอีกด้วย เมื่อถึงวันงานชาวบ้านจะนิมนต์พระมาสวดมนต์ที่ปะรำพิธีกลางทุ่งนา เรียกว่าสวดมนต์เย็น พอรุ่งเช้าก็จะร่วมกันทำบุญตักบาตรแล้วกลับบ้านไปเผาข้าวหลามที่ได้เตรียมกันไว้ รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่ทุกคนต้องมา เมื่อถึงวันรุ่งขึ้นชาวบ้านจะนำอาหารและข้าวหลามมาทำบุญเพราะเชื่อว่าเป็นการทำบุญสะเดาะเคราะห์ หลังจากพระฉันภัตตาหาร และสวดมนต์เรียบร้อยแล้ว ชาวนาก็จะนำกากหมากออกไปทิ้งไว้ข้างทางเพื่อให้ผีไม่มีญาติได้กินกัน เมื่อตกกลางคืนก็จะมีการทำกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะแสดงลิเก ภาพยนตร์ วงดนตรี
ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้ำของชาวปากน้ำประแสร์
  • ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้ำของชาวปากน้ำประแสร์ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง เราขอบอกทุกท่านเลยว่า ประเพณีนี้เป็นประเพณีที่มีแห่งเดียวในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ ในงานจะมีการทอดผ้าป่าในเวลากลางวันและลอยกระทงในเวลากลางคืน การทอดผ้าป่ากลางน้ำของชาวประแสร์นั้น เป็นไปตามวิถีชีวิตของผู้คนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ติดกับแม่น้ำ อันได้แก่ แม่น้ำประแสร์ ประชาชนที่มีอาชีพประมง รวมประเพณีจังหวัดระยอง ไม่มาไม่ได้แล้ว  ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้ำนี้นั้นมีการสันนิษฐานว่ามีการสืบทอดกันมานานกว่า 100 ปีแล้ว
งานวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช งานกาชาดจังหวัดระยอง
  • งานวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช งานกาชาดจังหวัดระยอง ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนมกราคม ณ บริเวณสนามกีฬากลาง จังหวัดระยองนั้นได้กำหนดจัดงานวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และงานกาชาดจังหวัดระยอง รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่ทุกคนต้องมา ซึ่งเป็นงานประเพณีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ขึ้นเป็นประจำในทุกๆ ปี ภายในงานก็จะจัดให้มีการจัดนิทรรศการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง การแสดงสินค้า OTOP และสินค้าอุตสาหกรรมของภาคเอกชน การจำหน่ายสินค้าราคาถูกจากโรงงานที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรม การออกร้านกาชาด กิจกรรม รวมไปถึงมีการแสดงมหรสพในทุกคืน และการแสดงต่างๆ มากมายอีกเช่นกัน

รวมประเพณีจังหวัดระยอง อีกหนึ่งจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศ ที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบัน ว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยว มีผลไม้ชั้นยอด อีกทั้งในแต่ละปีนั้นจังหวัดระยองของเราจะมีการจัดเทศกาลต่างๆ เพื่อสืบทอดและอนุรักษณ์ประเพณีดั้งเดิมของจังหวัดอีกด้วย รวมประเพณีจังหวัดระยอง ที่จัดทุกปี บอกเลยว่าจังหวัดของเราน่ามาท่องเที่ยว และยังมีประเพณีที่น่าสนใจหลากหลายอีกด้วย

 

 

 

สนับสนุนโดย :

สมัครบาคาร่า ที่เว็บคาสิโน888 เราเป็นเว็บคาสิโนที่สมัครง่ายที่สุด เกมคาสิโน สล็อต บาคาร่าเล่นง่าย ได้เงินจริง และยังสามารถดาวน์โหลดเอาไว้เล่นบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนได้

Categories
ข้อมูล ประเพณี เทศกาล

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดทางภาคตะวันออกของประเทศไทย

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดทางภาคตะวันออกของประเทศไทย

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีของเรานั้น นับว่าเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน เพราะว่าจังหวัดของเรานั้นมีการพบซากโบราณสถาณ ในหลายพื้นที่ของจังหวัด ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี นอกจากนนั้นแล้วจังหวัดปราจีนบุรี ยังมีแหล่งที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติอีกมากมายหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติ อยู่ในเขตมรดกโลกถึง3 แห่งด้วยกัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี  เมืองประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่าไม้มากที่สุด ของภาคตะวันออกอีกด้วย เดิมที่จังหวัดปราจีนบุรีนั้น มีพื้นที่ที่กว้างใหญ่มากๆ จนกระทั่งได้มีการจัดตั้งจังหวัดสระแก้วแยกออกจากจังหวัดปราจีนบุรี

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี รวมประเพณีที่สำคัญที่ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองประวัติศาสตร์

จังหวัดปราจีนบุรีนั้นมีประเพณีท้องถิ่น ที่นิยมปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ไม่ว่าจะเป็นประเพณีแห่นางแมว ประเพณีแข่งเรือยาว ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ประเพณีบั้งไฟ และอีกหลายๆ ประเพณี ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี น่าท่องเที่ยว ซึ่งบอกเลยว่าน่าสนใจทุกประเพณีเลย เพราะแต่ละประเพณีนั้นมีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไป 

ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • ประเพณีบุญบั้งไฟที่ได้รับมาจากภาคอีสาน จัดตรงกับวันวิสาขบูชา เพื่อบูชาเทพยาดาอารักษ์ ให้ฝนตกตามฤดูกาล ชาวนา ชาวไร่ จะได้ทำนาอย่างไม่มีอุปสรรค ได้ผลอุดมสมบูรณ์ตลอดปี ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ที่น่าสนใจ ในจังหวัดปราจีนบุรีนั้น นิยมจัดเป็นงานใหญ่ประจำปีที่วัดต้นโพธิ์ อำเภอศรีมโหสถ ซึ่งในงานนั้นมีการจัดบุญบั้งไฟขึ้นสูง มีการประกวดรำเซิ้งของขบวนแห่บั้งไฟ แถมยังมีการแสดงมหรสพสมโภชอีกด้วย 
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • งานวันเกษตรและของดีเมืองปราจีนบุรี ซึ่งจัดขึ้นที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด ในช่วงเดือนพฤษภาคม-เดือนมิถุนายนของทุกๆ ปี นอกจากเกษตรกรจะนำผลไม้จำหน่ายแล้ว ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ที่น่าสนใจ ในงานยังมีกิจกรรมการประกวดต่างๆ มากมายเลย ไม่ว่าจะเป็นการประกวดคุณภาพของผลไม้ การประกวดผลไม้ที่ใหญ่ที่สุด อย่างเช่น ขนนเอย ทุเรียนเอย กระท้อนเอย และผลไม้อีกนานาชนิด
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • งานสืบสานประเพณีสรงน้ำและแห่เจ้าพ่อพระปรง ทุกๆ วันที่ 16 เมษายนของทุกปี จะมีการแห่เจ้าพ่อพระปรง ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทั้งชาวจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระแก้ว ให้ความเคารพนับถือ ได้จัดให้มีขบวนแห่สรงน้ำเจ้าพ่อพระปรง ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี มาแล้วจะติดใจ โดยตลอดเส้นทางที่ขบวนรถแห่ผ่าน มีประชาชนจำนวนมากที่เคารพนับถือรอคอยสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรงกัน  เพื่อความเป็นสิริมงคล สำหรับงานประเพณีสรงน้ำแห่เจ้าพ่อพระปรงนั้น ชาวอำเภอกบินทร์บุรีนั้นได้จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี โดยถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองกับชาวกบินทร์มาช้านาน และโดยเฉพาะมีคุณค่าทางจิตใจเป็นที่เคารพนับถือบูชาของประชาชนตลอดมา
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • งานประเพณีการแข่งเรือยาว จะเป็นงานประจำมาตั้งแต่พ.ศ. 2528 โดยจัดขึ้นที่แม่น้ำบางปะกง หรือแม่น้ำปราจีนบุรีนั่นเอง บริเวณสะพานณรงค์ดำริไปจนถึงหน้าวัดหลวงปรีชากูล อำเภอเมืองปราจีนบุรีเลยก็ว่าได้ ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันนั้น จะได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารรี ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี น่าท่องเที่ยว จึงทำให้เทศกาลการแข่งขันเรือยาวนั้น ได้รับความสนใจจากจังหวัดต่างๆ ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางอีกด้วย โดยแต่ละภาคนั้นได้มีการส่งเรือมาร่วมแข่งขันกับทางจังหวัดปราจีนบุรี ปกติแล้วงานนี้จัดในช่วงเดือนกันยายน หรือเดือนตุลาคมของทุกปี แล้วแต่ความสูงของระดับน้ำ
ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี.
  • ประเพณีแห่นางแมว เป็นอีกหนึ่งประเพณีขึ้นชื่อของจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประเพณีที่เล่นเพื่อขอให้ฝนตกตรงตามฤดูกาล เพื่อที่ทำให้ชาวนา ชาวไร่ จะได้ทำนากันได้อย่างไม่มีอุปสรรค ถ้าหากว่าฝนไม่ตก หรือสภาพอากาศแห้งแล้งเกินกว่ากำหนด ชาวนาบางส่วนก็จะรวมกลุ่มกันขอฝน ด้วยการเอานางแมวหนึ่งตัวใส่กระชัง หามกันสองคน และเดินแห่ไปตามหมู่บ้านต่างๆ ในช่วงเวลากลางวันหรือไม่ว่าจะเป็นกลางคืนก็ได้ แล้วแต่สะดวกเลย ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี เมืองประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังมีพวกถือพานเอย บ้างก็ถือกระบุง เดินตามขบวน เมื่อชาวบ้านอื่นเห็นขบวนแห่นางแมวผ่านไปแล้ว ก็จะนำน้ำมาสาดนางแมว และรวมไปถึงสาดน้ำใส่พวกขบวนแห่ด้วย แถมยังมีชาวบ้านมอบข้าวสารใส่กระบุง ให้เงินใส่พาน มอบให้กับคนแห่ในขบวน และหลังจากทำกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วนั้น ชาวนาก็จะนำสิ่งของที่ได้มาจากชาวบ้านนำไปถวายแก่วัดเพื่อความเป็นสิริมงคล 

จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมายหลายแห่งด้วยกัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ของเรานั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ มีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมรดกโลกถึง 3 แห่งด้วยกัน ประเพณีที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี มาแล้วจะติดใจ อีกทั้งยังประเพณีต่างๆ ที่สำคัญของคนในจังหวัด บอกเลยว่าเป็นจังหวัดที่น่ามาท่องเที่ยวมากเลยทีเดียว

 

 

 

สนับสนุนโดย :

เว็บบาคาร่าที่คนเล่นเยอะที่สุดทำเงินด้วยมือถือ รองรับทุกระบบ ฝาก-ถอนออโต้ เว็บคาสิโนออนไลน์ที่ดีที่สุดในปี2022